ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนธรรมชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: am:የተፈጥሮ ቁጥር (ናቹራል ነምበር)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: mg:Isa nanahary; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติใน[[การนับ]] เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับ[[อันดับบางส่วน|การจัดอันดับ]] เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น
จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติใน[[การนับ]] เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับ[[อันดับบางส่วน|การจัดอันดับ]] เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น


คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับ[[การหารลงตัว]] เช่นการกระจายของ[[จำนวนเฉพาะ]] เป็นเนื้อหาใน[[ทฤษฎีจำนวน]] ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น [[ทฤษฎีแรมซี]] นั้นถูกศึกษาใน[[คณิตศาสตร์เชิงการจัด]]
คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับ[[การหารลงตัว]] เช่นการกระจายของ[[จำนวนเฉพาะ]] เป็นเนื้อหาใน[[ทฤษฎีจำนวน]] ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น [[ทฤษฎีแรมซี]] นั้นถูกศึกษาใน[[คณิตศาสตร์เชิงการจัด]]


== ประวัติของจำนวนธรรมชาติและจำนวนศูนย์ ==
== ประวัติของจำนวนธรรมชาติและจำนวนศูนย์ ==
สันนิฐานว่าจำนวนธรรมชาติ มีแหล่งกำเนิดอยู่ที่การนับ, เริ่มด้วยเลขหนึ่ง
สันนิฐานว่าจำนวนธรรมชาติ มีแหล่งกำเนิดอยู่ที่การนับ, เริ่มด้วยเลขหนึ่ง
จำนวนธรรมชาติในนามธรรมได้เกิดขึ้นครั้งแรกจากการใช้ตัวเลข เพื่อแสดงให้ค่าจำนวน จนพัฒนาขึ้นมาในการบันทึกจำนวนที่มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ชาว[[บาบิลอน]]สร้างระบบหลักจำนวนขึ้นมาซึ่งจำเป็นมากในระบบเลขหนึ่งถึงสิบ, [[ชาวอียิปต์]]ได้สร้างระบบจำนวนอย่างแตกต่างในภาษาเฮียโรกริฟต์ สำหรับหนึ่งถึงสิบและเลขยกกำลังตั้งแต่หลักสิบถึงหลักล้าน ตั้งแต่ที่ถ้ำหินของคาร์หนัก(เคหกรรมของชาวอียิปต์)ก่อนคริสต์ศักราช 1500 ปี จนถึงลูฟฟ์ที่ปารีส แสดงจำนวน 276 โดย 2 แทนที่หลักร้อย, 7 แทนที่หลักสิบ, 6 แทนที่หลักหน่วย และดังเช่นการเขียนจำนวน 4,622 ด้วย
จำนวนธรรมชาติในนามธรรมได้เกิดขึ้นครั้งแรกจากการใช้ตัวเลข เพื่อแสดงให้ค่าจำนวน จนพัฒนาขึ้นมาในการบันทึกจำนวนที่มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ชาว[[บาบิลอน]]สร้างระบบหลักจำนวนขึ้นมาซึ่งจำเป็นมากในระบบเลขหนึ่งถึงสิบ, [[ชาวอียิปต์]]ได้สร้างระบบจำนวนอย่างแตกต่างในภาษาเฮียโรกริฟต์ สำหรับหนึ่งถึงสิบและเลขยกกำลังตั้งแต่หลักสิบถึงหลักล้าน ตั้งแต่ที่ถ้ำหินของคาร์หนัก(เคหกรรมของชาวอียิปต์)ก่อนคริสต์ศักราช 1500 ปี จนถึงลูฟฟ์ที่ปารีส แสดงจำนวน 276 โดย 2 แทนที่หลักร้อย, 7 แทนที่หลักสิบ, 6 แทนที่หลักหน่วย และดังเช่นการเขียนจำนวน 4,622 ด้วย


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[Edmund Landau]], Foundations of Analysis, Chelsea Pub Co. ISBN 0-8218-2693-X.
* [[Edmund Landau]], Foundations of Analysis, Chelsea Pub Co. ISBN 0-8218-2693-X.
* [[Richard Dedekind]], Essays on the theory of numbers, Dover, 1963, ISBN 0486210103 / Kessinger Publishing, LLC , 2007, ISBN 054808985X
* [[Richard Dedekind]], Essays on the theory of numbers, Dover, 1963, ISBN 0-486-21010-3 / Kessinger Publishing, LLC , 2007, ISBN 0-548-08985-X
* N. L. Carothers. ''Real analysis''. Cambridge University Press, 2000. ISBN 0521497566
* N. L. Carothers. ''Real analysis''. Cambridge University Press, 2000. ISBN 0-521-49756-6
* Brian S. Thomson, Judith B. Bruckner, Andrew M. Bruckner. ''Elementary real analysis''. ClassicalRealAnalysis.com, 2000. ISBN 0130190756
* Brian S. Thomson, Judith B. Bruckner, Andrew M. Bruckner. ''Elementary real analysis''. ClassicalRealAnalysis.com, 2000. ISBN 0-13-019075-6
* {{mathworld|NaturalNumber|Natural Number|}}
* {{mathworld|NaturalNumber|Natural Number|}}
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
* [http://www.apronus.com/provenmath/naturalaxioms.htm Axioms and Construction of Natural Numbers]
* [http://www.apronus.com/provenmath/naturalaxioms.htm Axioms and Construction of Natural Numbers]
* [http://www.gutenberg.org/etext/21016 Essays on the Theory of Numbers] by [[Richard Dedekind]] at [[Project Gutenberg]]
* [http://www.gutenberg.org/etext/21016 Essays on the Theory of Numbers] by [[Richard Dedekind]] at [[Project Gutenberg]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:จำนวนเชิงการนับ]]
[[หมวดหมู่:จำนวนเชิงการนับ]]
บรรทัด 27: บรรทัด 28:
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน]]
[[หมวดหมู่:จำนวน]]
[[หมวดหมู่:จำนวน]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


{{Link FA|lmo}}
{{Link FA|lmo}}
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
[[lt:Natūralusis skaičius]]
[[lt:Natūralusis skaičius]]
[[lv:Naturāls skaitlis]]
[[lv:Naturāls skaitlis]]
[[mg:Isa nanahary]]
[[mk:Природен број]]
[[mk:Природен број]]
[[ml:എണ്ണൽ സംഖ്യ]]
[[ml:എണ്ണൽ സംഖ്യ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:02, 7 มิถุนายน 2555

ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนธรรมชาติ อาจหมายถึง จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ (1, 2, 3, 4, ...) หรือ จำนวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4, ...) ความหมายแรกมีการใช้ในทฤษฎีจำนวน ส่วนแบบหลังได้ใช้งานใน ตรรกศาสตร์,เซตและวิทยาการคอมพิวเตอร์

จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติในการนับ เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับการจัดอันดับ เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น

คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับการหารลงตัว เช่นการกระจายของจำนวนเฉพาะ เป็นเนื้อหาในทฤษฎีจำนวน ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น ทฤษฎีแรมซี นั้นถูกศึกษาในคณิตศาสตร์เชิงการจัด

ประวัติของจำนวนธรรมชาติและจำนวนศูนย์

สันนิฐานว่าจำนวนธรรมชาติ มีแหล่งกำเนิดอยู่ที่การนับ, เริ่มด้วยเลขหนึ่ง จำนวนธรรมชาติในนามธรรมได้เกิดขึ้นครั้งแรกจากการใช้ตัวเลข เพื่อแสดงให้ค่าจำนวน จนพัฒนาขึ้นมาในการบันทึกจำนวนที่มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ชาวบาบิลอนสร้างระบบหลักจำนวนขึ้นมาซึ่งจำเป็นมากในระบบเลขหนึ่งถึงสิบ, ชาวอียิปต์ได้สร้างระบบจำนวนอย่างแตกต่างในภาษาเฮียโรกริฟต์ สำหรับหนึ่งถึงสิบและเลขยกกำลังตั้งแต่หลักสิบถึงหลักล้าน ตั้งแต่ที่ถ้ำหินของคาร์หนัก(เคหกรรมของชาวอียิปต์)ก่อนคริสต์ศักราช 1500 ปี จนถึงลูฟฟ์ที่ปารีส แสดงจำนวน 276 โดย 2 แทนที่หลักร้อย, 7 แทนที่หลักสิบ, 6 แทนที่หลักหน่วย และดังเช่นการเขียนจำนวน 4,622 ด้วย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA