ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินัย ทองสอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Changdong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
'''พลตำรวจโท วินัย ทองสอง''' ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน
'''พลตำรวจโท วินัย ทองสอง''' ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน


เกิดเมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2500]] จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]รุ่นที่ 32 (นรต.32) เริ่มรับราชการด้วยการเป็นนายเวรผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 [[จังหวัดยะลา]] จนกระทั่งดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจกองปราบปราม ในปี [[พ.ศ. 2547]] ด้วยยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในยุค[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 ของไทย|รัฐบาล]]ที่มีพันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]
เกิดเมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2500]] จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]รุ่นที่ 32 (นรต.32) เริ่มรับราชการด้วยการเป็นนายเวรผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 [[จังหวัดยะลา]] จนกระทั่งดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองปราบปราม ในปี [[พ.ศ. 2547]] ด้วยยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในยุค[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 ของไทย|รัฐบาล]]ที่มีพันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]


พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิง[[พจมาน ชินวัตร]] ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ขณะที่เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]]เกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสาย[[โทรศัพท์]]จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่[[นครนิวยอร์ก]] ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[องคมนตรี]] ถึงที่[[บ้านสี่เสาเทเวศน์]] อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและ[[รถถัง]]เข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย<ref>[http://www.positioningmag.com/magazine/printnews.aspx?id=70451 "พลเอกเปรม ติณสูลานนท์" เสาหลักการเมืองไทย ]</ref><ref>กองบรรณาธิการมติชน. ''รัฐประหาร 19 กันยา '49 เรียบแต่ลึก''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549. ISBN 947-323-851-4 </ref>
พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิง[[พจมาน ชินวัตร]] ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ขณะที่เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]]เกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสาย[[โทรศัพท์]]จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่[[นครนิวยอร์ก]] ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[องคมนตรี]] ถึงที่[[บ้านสี่เสาเทเวศน์]] อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและ[[รถถัง]]เข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย<ref>[http://www.positioningmag.com/magazine/printnews.aspx?id=70451 "พลเอกเปรม ติณสูลานนท์" เสาหลักการเมืองไทย ]</ref><ref>กองบรรณาธิการมติชน. ''รัฐประหาร 19 กันยา '49 เรียบแต่ลึก''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549. ISBN 947-323-851-4 </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:49, 2 มิถุนายน 2555

พลตำรวจโท วินัย ทองสอง
ไฟล์:Winai thongsong.jpg
ดำรงตำแหน่ง
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 – 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555
(ย้ายไปช่วยราชการสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ)
ก่อนหน้าพลตำรวจโท จักรทิพย์ ชัยจินดา
ถัดไปพลตำรวจตรี คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง
(รักษาการ)
ผู้บัญชาการกองบัญชาการตำรวจนครบาล
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด21 เมษายน พ.ศ. 2500 (66 ปี)

พลตำรวจโท วินัย ทองสอง ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน

เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2500 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 32 (นรต.32) เริ่มรับราชการด้วยการเป็นนายเวรผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 จังหวัดยะลา จนกระทั่งดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองปราบปราม ในปี พ.ศ. 2547 ด้วยยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในยุครัฐบาลที่มีพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี

พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ขณะที่เกิดการรัฐประหารเกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสายโทรศัพท์จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่นครนิวยอร์ก ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ถึงที่บ้านสี่เสาเทเวศน์ อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและรถถังเข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย[1][2]

ต่อมาในกลางปี พ.ศ. 2554 พล.ต.ท.วินัย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.จักรทิพย์ ชัยจินดา ที่ได้รับคำสั่งโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 แทน[3] [4]

ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 พลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มีคำสั่งให้ พล.ต.ท.วินัย ย้ายไปช่วยราชการที่สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นระยะเวลา 30 วัน พร้อมกับมอบให้ พล.ต.ต.คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 เข้ามารักษาราชการ และปฏิบัติหน้าที่แทน โดยให้มีผลทันที[5]

อ้างอิง