ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: sr:Династија Хановер (deleted)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Royal house|
{{Royal house|
| surname = ราชวงศ์ฮาโนเวอร์
| surname = ราชวงศ์แฮโนเวอร์
| estate = ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์, [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]
| estate = [[ราชอาณาจักรฮันโนเวอร์]] [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]
| coat of arms = Kingdom of Hanover Arms.svg
| coat of arms = Kingdom of Hanover Arms.svg
| country = [[ฮาโนเวอร์]]
| country = [[ฮันโนเวอร์]]
| parent house = [[ราชวงศ์เวลฟ์]], สายรองแห่ง[[ราชวงศ์เอสต์]]
| parent house = [[ราชวงศ์เวลฟ์]] สายรองแห่ง[[ราชวงศ์เอสต์]]
| titles =
| titles =
*[[รายพระนามกษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ|กษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร|พระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]
* [[จักรพรรดิอินเดีย]]
*[[กษัตริย์แห่งฮาโนเวอร์]]
* [[พระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์]]
*[[ดยุคแห่งบรันสวิคและลุนเบิร์ก]]
* [[ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก]]
*[[สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย]]
* [[ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์]]
*[[ดยุคแห่งบรันสวิค]]
| founder = [[เกออร์ก ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก]]
| founder = [[จอร์จ ดยุคแห่งบรันสวิคและลุนเบิร์ก]]
| final ruler = [[แอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์]]
| final ruler = [[เออร์เนส ออร์กุสตุส ดยุคแห่งบรันสวิค]]
| current head = [[แอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 5 เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์]][[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]
| current head =[[ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์]]: [[เออร์เนส ออร์กุสตุสที่ 5 เจ้าชายแห่งฮาโนเวอร์]]
| founding year = [[ค.ศ. 1635]]
| founding year = [[ค.ศ. 1635]]
| dissolution = [[ค.. 1918]]
| dissolution = [[ค.. 1918]]
| nationality = เยอรมัน (ฮาโนเวียน), [[ชาวอังกฤษ|อังกฤษ]]
| nationality = เยอรมัน (ฮาโนเวียน), [[ชาวอังกฤษ|อังกฤษ]]
|cadet branches =
|cadet branches =
}}
}}
'''ราชวงศ์ฮาโนเวอร์''' เป็นราชวงศ์[[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]ที่ครองราชบัลลังก์บริเตนใหญ่ต่อจาก[[ราชวงศ์สจวต]]ในปี [[พ.ศ. 2257]] ราชวงศ์นี้ยังปกครอง[[รัฐฮาโนเวอร์]]ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่า '''ราชวงศ์บรุนสวิคและลึนบูร์ก เชื้อสายฮาโนเวอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line)'''
'''ราชวงศ์แฮโนเวอร์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 252</ref> เป็นราชวงศ์[[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]ที่ครองราชบัลลังก์สห[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]ต่อจาก[[ราชวงศ์สจวต]]ในปี [[พ.ศ. 2257]] ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐ[[ฮันโนเวอร์]]ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่า'''ราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเวอร์''' (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line)'''


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
จอร์จ ดยุคแห่งบรุนสวิคและลึนบูร์ก (George, Duke of Brunswick-Lüneburg) เป็นสมาชิกแรกของราชวงศ์ฮาโนเวอร์ เมื่ออาณาจักรดยุคแห่งบรุนสวิค-ลึนบูร์กถูกแบ่งแยกในปี [[พ.ศ. 2178]] จอร์จได้รับมรดกดินแดนแห่งคาเลนเบิร์ก (Principality of Calenberg) และราชรัฐเกิททิงเกน (Principality of Göttingen) และในปี [[พ.ศ. 2179]] ท่านได้ย้ายไปพำนักอยู่ที่ฮาโนเวอร์ ดยุคเออร์เนสต์ ออกัสตัส (Duke Ernest Augustus) โอรสของท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชาย (prince-elector) ของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในปี [[พ.ศ. 2235]] [[เจ้าหญิงโซเฟียแห่งฮาโนเวอร์|โซเฟีย แห่งพาลาทิเนต]] (Sophia of the Palatinate) ภริยาของดยุคเออร์เนสต์ ออกัสตัสได้อ้างสิทธิเหนือราชบัลลังก์บริเตนใหญ่อันเนื่องจาก[[พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์แห่งปี .ศ. 2244]] (Act of Settlement 1701) ได้กำหนดว่ารัชทายาทที่เป็น[[โรมันคาทอลิก]]ไม่สามารถครองราชบัลลังก์ได้ เจ้าหญิงโซเฟียซึ่งขณะนั้นเป็น[[โปรเตสแตนต์]]ที่เป็นพระญาติใกล้ชิดที่สุดกับ[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ]] สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมจริงๆ แล้วทรงเป็นชาวดัตช์แห่ง[[ราชวงศ์ออเรนจ์-นาซอ]] แต่ทั้งพระมเหสีและพระราชมารดาทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์สจวต
[[เกออร์ก ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก]]เป็นสมาชิกแรกของราชวงศ์แฮโนเวอร์ เมื่อดัชชีเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์กถูกแบ่งในปี [[พ.ศ. 2178]] เกออร์กได้รับมรดกส่วนราชรัฐคาเลนแบร์ก (Principality of Calenberg) และราชรัฐเกิททิงเงิน (Principality of Göttingen) และในปี [[พ.ศ. 2179]] ท่านได้ย้ายไปพำนักอยู่ที่ฮันโนเวอร์ ดยุก แอร์นสท์ เอากุสท์ โอรสของท่านได้รับการแต่งตั้งเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]][[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในปี [[พ.ศ. 2235]] เจ้าหญิง[[โซฟีแห่งฮันโนเวอร์]]ภริยาของดยุกแอร์นสท์ ออกัสตัสได้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์บริเตนใหญ่อันเนื่องจาก[[พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ .ศ. 1701]] ได้กำหนดว่ารัชทายาทที่เป็น[[โรมันคาทอลิก]]ไม่สามารถครองราชบัลลังก์ได้ เจ้าหญิงโซฟีซึ่งขณะนั้นเป็น[[โปรเตสแตนต์]]ที่เป็นพระญาติใกล้ชิดที่สุดกับ[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ]] พระเจ้าวิลเลียมจริง ๆ แล้วทรงเป็นชาวดัตช์แห่ง[[ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา]] แต่ทั้งพระมเหสีและพระราชมารดาเป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์สจวต


=== ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ปกครองสหราชอาณาจักร ===
=== ราชวงศ์แฮโนเวอร์ปกครองสหราชอาณาจักร ===
[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่]] พระราชโอรสในดยุคเออร์เนสต์ ออกุสตุสและเจ้าหญิงโซเฟียแห่งฮาโนเวอร์ได้ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ของบริเตนใหญ่ และเป็นกษัตริย์บริเตนใหญ่พระองค์แรกของราชวงศ์ฮาโนเวอร์ แม้ว่าพระองค์จะอยู่ในลำดับที่ 52 ในลำดับการสืบสันตติวงศ์ก็ตาม<ref>Picknett, Lynn, Prince, Clive, Prior, Stephen & Brydon, Robert (2002). War of the Windsors: A Century of Unconstitutional Monarchy, p. 13. Mainstream Publishing. ISBN 1-84018-631-3.</ref>
[[พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่]] พระราชโอรสในดยุกแอร์นสท์ ออกุสท์และเจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเวอร์ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่ และเป็นพระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่พระองค์แรกของราชวงศ์แฮโนเวอร์ แม้ว่าพระองค์จะอยู่ในลำดับที่ 52 ในลำดับการสืบสันตติวงศ์ก็ตาม<ref>Picknett, Lynn, Prince, Clive, Prior, Stephen & Brydon, Robert (2002). War of the Windsors: A Century of Unconstitutional Monarchy, p. 13. Mainstream Publishing. ISBN 1-84018-631-3.</ref>พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์แฮโนเวอร์ ได้แก่


''พระมหากษัตริย์สห[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]''
กษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์ฮาโนเวอร์ ได้แก่
* [[พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่]] (George I) [[พ.ศ. 2257]]-[[พ.ศ. 2270]] (เกออร์ก ลุดวิก (Georg Ludwig) = จอร์จ หลุยส์ (George Louis))
''กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่''
* [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่]] (George I) [[พ.ศ. 2257]]-[[พ.ศ. 2270]] (จอร์จ ลุดวิก (Georg Ludwig) = จอร์จ หลุยส์ (George Louis))
* [[พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่]] (George II) [[พ.ศ. 2270]]-[[พ.ศ. 2303]] (เกออร์ก เอากุสท์ (Georg August) = จอร์จ ออกัสตัส (George Augustus))
* [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่]] (George II) [[พ.ศ. 2270]]-[[พ.ศ. 2303]] (จอร์จ ออกุสต์ (Georg August) = จอร์จ ออกุสตุส (George Augustus))
* [[พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่]] (George III) [[พ.ศ. 2303]]-[[พ.ศ. 2363]]<ref>ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ได้รวมกันในปี พ.ศ. 2344 เป็น''สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์''</ref>
* [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่]] (George III) [[พ.ศ. 2303]]-[[พ.ศ. 2363]]<ref>ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ได้รวมกันในปี พ.ศ. 2344 เป็น''สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ และไอร์แลนด์''</ref>


''กษัตริย์แห่ง[[สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ และไอร์แลนด์]]''
''พระมหากษัตริย์[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]''
* [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่]] (George III) [[พ.ศ. 2303]]-[[พ.ศ. 2363]]
* [[พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่]] (George III) [[พ.ศ. 2303]]-[[พ.ศ. 2363]]
* [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]] (George IV) [[พ.ศ. 2363]]-[[พ.ศ. 2373]])
* [[พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]] (George IV) [[พ.ศ. 2363]]-[[พ.ศ. 2373]])
* [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]] (William IV) [[พ.ศ. 2373]]-[[พ.ศ. 2380]]
* [[พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]] (William IV) [[พ.ศ. 2373]]-[[พ.ศ. 2380]]
* [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แห่งสหราชอาณาจักร]] (Victoria) [[พ.ศ. 2380]]-[[พ.ศ. 2444]]
* [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แห่งสหราชอาณาจักร]] (Victoria) [[พ.ศ. 2380]]-[[พ.ศ. 2444]]


สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1, สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่างก็ทรงดำรงดำแหน่งเจ้าชายและดยุคแห่งบรุนสวิค-ลึกบูร์ก (Electors and dukes of Brunswick-Lüneburg) ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าเจ้าชายแห่งฮาโนเวอร์ (Electors of Hanover) ในช่วงต้นของปี [[พ.ศ. 2357]] เมื่อฮาโนเวอร์ได้กลายเป็นราชอาณาจักร กษัตริย์บริเตนใหญ่ก็ทรงมีพระอิสสริยยศเป็นกษัตริย์แห่งฮาโนเวอร์ด้วย
พระเจ้าจอร์จที่ 1 พระเจ้าจอร์จที่ 2 และพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่างก็ทรงดำรงดำแหน่งเจ้าชายและดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก (Electors and dukes of Brunswick-Lüneburg) ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าผู้คัดเลือกแห่งฮันโนเวอร์ (Electors of Hanover) ในช่วงต้นของปี [[พ.ศ. 2357]] เมื่อฮันโนเวอร์ได้กลายเป็นราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่ก็มีพระอิสสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ด้วย


ราชบัลลังก์[[สหราชอาณาจักร]]และฮาโนเวอร์ได้แยกจากกันในปี [[พ.ศ. 2380]] เมื่อมี[[กฏบัตรซาลลิค]]ที่กำหนดให้ราชบัลลังก์ฮาโนเวอร์ไม่ได้ตกผ่านรัชทายาทของตกไปสู่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แต่กลับผ่านไปยังพระราชปิตุลาของพระองค์คือเออร์เนสต์ ออกุสตุสที่ 1 แห่งฮาโนเวอร์ ดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus I of Hanover, Duke of Cumberland)<ref>Picknett, Prince, Prior & Brydon, pp. 13, 14.</ref> เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียสวรรคตในปี พ.ศ. 2444 [[แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา|ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา]]ได้ครองราชบัลลังก์สหราชอาณาจักรต่อ โดย[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]] พระราชโอรสและองค์รัชทายาท ผู้เป็นพระราชโอรสใน[[เจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต เจ้าชายพระราชสวามี|เจ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา]] พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทำให้ชื่อราชวงศ์อังกฤษเปลี่ยนไปเป็นแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธาตามนามสกุลของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งได้รับมาจากพระราชบิดา<ref>Picknett, Prince, Prior & Brydon, p. 14.</ref>
ราชบัลลังก์[[สหราชอาณาจักร]]และฮันโนเวอร์ได้แยกจากกันในปี [[พ.ศ. 2380]] เมื่อมี[[กฎหมายแซลิก]]ที่กำหนดให้ราชบัลลังก์ฮันโนเวอร์ไม่ได้ตกผ่านรัชทายาทของตกไปสู่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แต่กลับผ่านไปยังพระราชปิตุลาของพระองค์คือแอร์นสท์ เอากุสท์ 1 แห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus I of Hanover, Duke of Cumberland)<ref>Picknett, Prince, Prior & Brydon, pp. 13, 14.</ref> เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียสวรรคตในปี พ.ศ. 2444 ราชวงศ์[[ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา]]ได้ครองราชบัลลังก์สหราชอาณาจักรต่อ โดย[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]] พระราชโอรสและองค์รัชทายาทผู้เป็นพระโอรสใน[[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี|เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา]] พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทำให้ชื่อราชวงศ์อังกฤษเปลี่ยนไปเป็นซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาตามนามสกุลของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งได้รับมาจากพระราชบิดา<ref>Picknett, Prince, Prior & Brydon, p. 14.</ref>


=== ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ปกครองราชอาณาจักรฮาโนเวอร์ ===
=== ราชวงศ์แฮโนเวอร์ปกครองราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ ===


หลังจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรสวรรคตในปี พ.ศ. 2380 มีกษัตริย์ของฮาโนเวอร์ได้ขึ้นครองราชย์ต่อ ดังนี้
หลังจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรสวรรคตในปี พ.ศ. 2380 มีพระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ได้ขึ้นครองราชย์ต่อ ดังนี้


* พระเจ้าเออร์เนสต์ ออกัสตัสที่ 1 แห่งฮาโนเวอร์ (Ernest Augustus I) [[พ.ศ. 2380]]-[[พ.ศ. 2394]]
* พระเจ้าแอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus I) [[พ.ศ. 2380]]-[[พ.ศ. 2394]]
* พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ (George V) [[พ.ศ. 2394]]-[[พ.ศ. 2409]], ถูกถอดจากราชสมบัติ
* พระเจ้าเกออร์กที่ 5 แห่งฮันโนเวอร์ (George V) [[พ.ศ. 2394]]-[[พ.ศ. 2409]], ถูกถอดจากราชสมบัติ


ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์สิ้นสุดลงเมื่อถูกรวมเข้ากับ[[ปรัสเซีย]]ในปี [[พ.ศ. 2409]]
ราชอาณาจักรฮันโนเวอร์สิ้นสุดลงเมื่อถูกรวมเข้ากับ[[ปรัสเซีย]]ในปี [[พ.ศ. 2409]]


=== ดัชชีเบราน์ชไวก์ ===
=== รัฐดยุคแห่งบรุนสวิค ===


ในปี [[พ.ศ. 2427]] เชื้อสายของราชวงศ์เวลฟ์ (House of Welf) ได้สิ้นสุดลง ตามกฎหมายของราชวงศ์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์สามารถขึ้นครองราชบัลลังก์รัฐดยุคแห่งบรุนสวิค (Duchy of Brunswick) แต่กระนั้นก็มีแรงกดดันจากปรัสเซียต่อพระเจ้าจอร์จที่ 5 และเออร์เนสต์ ออกัสตัส ดยุคคนที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พระราชโอรสไม่ให้ขึ้นเป็นรัฐสมาชิกของจักรวรรดิเยอรมัน ตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2422 รัฐดยุคแห่งบรุนสวิคได้ตั้งสภาชั่วคราวขึ้นมาเพื่อดูแลเมื่อดยุคถึงแก่กรรม หรือแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนในกรณีจำเป็น
ในปี [[พ.ศ. 2427]] เชื้อสายของราชวงศ์เวลฟ์ (House of Welf) ได้สิ้นสุดลง ตามกฎหมายของราชวงศ์ ราชวงศ์แฮโนเวอร์สามารถขึ้นครองบัลลังก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ แต่กระนั้นก็มีแรงกดดันจากปรัสเซียต่อพระเจ้าจอร์จที่ 5 และแอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พระราชโอรสไม่ให้ขึ้นเป็นรัฐสมาชิกของจักรวรรดิเยอรมัน ตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2422 ได้ตั้งสภาชั่วคราวขึ้นมาเพื่อดูแลเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม หรือแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนในกรณีจำเป็น


ดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้อ้างสิทธิเป็นดยุคแห่งบรุนสวิคหลังจากดยุคคนก่อนสิ้นพระชนม์ แต่ก็มีการต่อรองที่ยาวนานและปัญหาก็ไม่ได้รับการแก้ไข เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งปรัสเซัย (Prince Albrecht of Prussia) ได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หลังจากพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2449 ดยุคจอห์น อัลเบิร์ต แห่งเมคเลนบูร์ก (Duke John Albert of Mecklenburg) ได้ครองราชย์ต่อ โอรสคนโตของดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุรถยนต์ในปี พ.ศ. 2455 ดยุคแห่งคัมเบอร์แลนด์จึงประกาศให้ราชบัลลังก์ตกสู่โอรสองค์เล็ก ผู้ซึ่งแต่งงานกับพระราชธิดาในจักรพรรดิแห่งเยอรมนี (Kaiser) ได้ให้สัตย์ปฏิญาณว่าจะเป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมัน และได้รับอนุญาตให้ขึ้นครองราชบัลลังก์ของรัฐดยุคในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2456 ท่านเป็นนายพลตรี (major-general) ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] แต่ตำแหน่งดยุคแห่งบรุนสวิคก็ถูกล้มล้างในปี พ.ศ. 2461 บิดาของท่านก็ถูกถอดจากพระอิสสริยยศอังกฤษในปี พ.ศ. 2462 เนื่องจาก''จับอาวุธต่อสู้กับสหราชอาณาจักร''
ดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้อ้างสิทธิเป็นดยุกแห่งเบราน์ชไวก์หลังจากดยุกองค์ก่อนสิ้นพระชนม์ แต่ก็มีการต่อรองที่ยาวนานและปัญหาก็ไม่ได้รับการแก้ไข เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งปรัสเซัย (Prince Albrecht of Prussia) ได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หลังจากพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2449 ดยุกโยฮันน์ อัลแบร์ตแห่งเมคเลนบูร์ก (Duke John Albert of Mecklenburg) ได้ครองราชย์ต่อ โอรสคนโตของดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุรถยนต์ในปี พ.ศ. 2455 ดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์จึงประกาศให้ราชบัลลังก์ตกสู่โอรสองค์เล็ก ผู้ซึ่งแต่งงานกับพระราชธิดาในจักรพรรดิแห่งเยอรมนี (Kaiser) ได้ให้สัตย์ปฏิญาณว่าจะเป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมัน และได้รับอนุญาตให้ขึ้นครองราชบัลลังก์ของดัชชีในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2456 ท่านเป็นนายพลตรี (major-general) ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] แต่ตำแหน่งดยุกแห่งเบราน์ชไวก์ก็ถูกล้มล้างในปี พ.ศ. 2461 บิดาของท่านก็ถูกถอดจากพระอิสริยยศอังกฤษในปี พ.ศ. 2462 เนื่องจาก''จับอาวุธต่อสู้กับสหราชอาณาจักร''


=== ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ===
=== ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ===
บรรทัด 64: บรรทัด 63:


* พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ (George V) พ.ศ. 2409-พ.ศ. 2421
* พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ (George V) พ.ศ. 2409-พ.ศ. 2421
* เออร์เนสต์ ออกัสตัส ดยุคคนที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พ.ศ. 2421-พ.ศ. 2466
* แอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พ.ศ. 2421-พ.ศ. 2466
* เออร์เนสต์ ออกัสตัสที่ 3 ดยุคแห่งบรุนสวิค (ถูกถอดจากตำแหน่ง) (Ernest Augustus III, the deposed duke of Brunswick) พ.ศ. 2466-พ.ศ. 2496 โอรสของดยุคคนก่อน
* แอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 3 ดยุกผู้ถูกถอดแห่งบรุนสวิค (จากตำแหน่ง) (Ernest Augustus III, the deposed duke of Brunswick) พ.ศ. 2466-พ.ศ. 2496 โอรสของดยุคคนก่อน
* เออร์เนสต์ ออกัสตัสที่ 4 เจ้าชายแห่งฮาโนเวอร์ (Ernest Augustus the elder, Prince of Hanover) พ.ศ. 2496-พ.ศ. 2530
* แอร์นสท์ เอากุสท์ ผู้อาวุโส เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus the elder, Prince of Hanover) พ.ศ. 2496-พ.ศ. 2530
* เออร์เนสต์ ออกัสตัสที่ 5 เจ้าชายแห่งฮาโนเวอร์ (Ernest Augustus the younger, Prince of Hanover) พ.ศ. 2530-ปัจจุบัน
* แอร์นสท์ เอากุสท์ ผู้เยาว์ เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus the younger, Prince of Hanover) พ.ศ. 2530-ปัจจุบัน


ราชวงศ์นี้ปัจจุบันพำนักอยู่ในออสเตรียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2409 พระอิสสริยศและตำแหน่งนี้ใช้เพียงสมมติกันขึ้นมาเพื่อความเคารพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462
ราชวงศ์นี้ปัจจุบันพำนักอยู่ในออสเตรียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2409 พระอิสสริยศและตำแหน่งนี้ใช้เพียงสมมติกันขึ้นมาเพื่อความเคารพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462
บรรทัด 74: บรรทัด 73:
* ถนนในเขตเศรษฐกิจกลางของ[[บริสเบน]] (Brisbane's Central Business District) มีชื่อตามสมาชิกของราชวงศ์ฮาโนเวอร์ ถนนที่ตัดขนานกับ Queen Street จะตั้งตามชื่อสมาชิกที่เป็นหญิง ส่วนถนนที่ตัดตั้งฉากจะเป็นมีชื่อตามชื่อสมาชิกที่เป็นชาย
* ถนนในเขตเศรษฐกิจกลางของ[[บริสเบน]] (Brisbane's Central Business District) มีชื่อตามสมาชิกของราชวงศ์ฮาโนเวอร์ ถนนที่ตัดขนานกับ Queen Street จะตั้งตามชื่อสมาชิกที่เป็นหญิง ส่วนถนนที่ตัดตั้งฉากจะเป็นมีชื่อตามชื่อสมาชิกที่เป็นชาย
* จัตุรัสฮาโนเวอร์ ในเมือง[[นครนิวยอร์ก|นิวยอร์ก]]ตั้งชื่อตามชื่อราชวงศ์ รวมไปถึงชื่อ[[รัฐนิวบรันสวิก]] (province of New Brunswick) ใน[[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]] รวมทั้งชื่อเมืองต่างๆ ในทางตะวันออกของ[[สหรัฐอเมริกา]]และแคนาดา
* จัตุรัสฮาโนเวอร์ ในเมือง[[นครนิวยอร์ก|นิวยอร์ก]]ตั้งชื่อตามชื่อราชวงศ์ รวมไปถึงชื่อ[[รัฐนิวบรันสวิก]] (province of New Brunswick) ใน[[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]] รวมทั้งชื่อเมืองต่างๆ ในทางตะวันออกของ[[สหรัฐอเมริกา]]และแคนาดา
* ชื่อเมือง[[แอดิเลด]] (Adelaide) ใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] ตั้งชื่อตาม[[สมเด็จพระราชินีอเดเลด แห่งแซ็กซ์-เมนิงเก็น]] (Adelaide of Saxe-Meiningen) [[พระราชสวามี และพระมเหสีในพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร|พระมเหสี]]ใน[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]]
* ชื่อเมือง[[แอดิเลด]] (Adelaide) ใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] ตั้งชื่อตามพระนาง[[แอเดเลดแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร]] (Adelaide of Saxe-Meiningen) [[รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระประมุขแห่งสหราชอาณาจักร|พระมเหสี]]ใน[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร]]


== อ้างอิง และเชิงอรรถ ==
== อ้างอิงและเชิงอรรถ ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


บรรทัด 86: บรรทัด 85:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายพระนามกษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ]]


บรรทัด 97: บรรทัด 96:


{{ราชวงศ์ยุโรป}}
{{ราชวงศ์ยุโรป}}

{{เรียงลำดับ|ฮโนเวอร์}}
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮาโนเวอร์|*]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮาโนเวอร์|*]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เยอรมัน|ฮาโนเวอร์]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์อังกฤษ|ฮาโนเวอร์]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลเวลฟ|ฮาโนเวอร์]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลเวลฟ]]


[[af:Huis van Hannover]]
[[af:Huis van Hannover]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:29, 25 พฤษภาคม 2555

ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์
พระราชอิสริยยศ
ปกครองฮันโนเวอร์
เชื้อชาติเยอรมัน (ฮาโนเวียน), อังกฤษ
ประมุขพระองค์แรกเกออร์ก ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันแอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 5 เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์
ประมุขพระองค์สุดท้ายแอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์
สถาปนาค.ศ. 1635
สิ้นสุดค.ศ. 1918

ราชวงศ์แฮโนเวอร์[1] เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองราชบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเวอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเวอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line)

ประวัติ

เกออร์ก ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์กเป็นสมาชิกแรกของราชวงศ์แฮโนเวอร์ เมื่อดัชชีเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์กถูกแบ่งในปี พ.ศ. 2178 เกออร์กได้รับมรดกส่วนราชรัฐคาเลนแบร์ก (Principality of Calenberg) และราชรัฐเกิททิงเงิน (Principality of Göttingen) และในปี พ.ศ. 2179 ท่านได้ย้ายไปพำนักอยู่ที่ฮันโนเวอร์ ดยุก แอร์นสท์ เอากุสท์ โอรสของท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี พ.ศ. 2235 เจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเวอร์ภริยาของดยุกแอร์นสท์ ออกัสตัสได้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์บริเตนใหญ่อันเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 ได้กำหนดว่ารัชทายาทที่เป็นโรมันคาทอลิกไม่สามารถครองราชบัลลังก์ได้ เจ้าหญิงโซฟีซึ่งขณะนั้นเป็นโปรเตสแตนต์ที่เป็นพระญาติใกล้ชิดที่สุดกับพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระเจ้าวิลเลียมจริง ๆ แล้วทรงเป็นชาวดัตช์แห่งราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา แต่ทั้งพระมเหสีและพระราชมารดาเป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์สจวต

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ปกครองสหราชอาณาจักร

พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ พระราชโอรสในดยุกแอร์นสท์ ออกุสท์และเจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเวอร์ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่ และเป็นพระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่พระองค์แรกของราชวงศ์แฮโนเวอร์ แม้ว่าพระองค์จะอยู่ในลำดับที่ 52 ในลำดับการสืบสันตติวงศ์ก็ตาม[2]พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์แฮโนเวอร์ ได้แก่

พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

พระเจ้าจอร์จที่ 1 พระเจ้าจอร์จที่ 2 และพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่างก็ทรงดำรงดำแหน่งเจ้าชายและดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก (Electors and dukes of Brunswick-Lüneburg) ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าผู้คัดเลือกแห่งฮันโนเวอร์ (Electors of Hanover) ในช่วงต้นของปี พ.ศ. 2357 เมื่อฮันโนเวอร์ได้กลายเป็นราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์บริเตนใหญ่ก็มีพระอิสสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ด้วย

ราชบัลลังก์สหราชอาณาจักรและฮันโนเวอร์ได้แยกจากกันในปี พ.ศ. 2380 เมื่อมีกฎหมายแซลิกที่กำหนดให้ราชบัลลังก์ฮันโนเวอร์ไม่ได้ตกผ่านรัชทายาทของตกไปสู่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แต่กลับผ่านไปยังพระราชปิตุลาของพระองค์คือแอร์นสท์ เอากุสท์ 1 แห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus I of Hanover, Duke of Cumberland)[4] เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียสวรรคตในปี พ.ศ. 2444 ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาได้ครองราชบัลลังก์สหราชอาณาจักรต่อ โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชโอรสและองค์รัชทายาทผู้เป็นพระโอรสในเจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทำให้ชื่อราชวงศ์อังกฤษเปลี่ยนไปเป็นซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาตามนามสกุลของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งได้รับมาจากพระราชบิดา[5]

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ปกครองราชอาณาจักรฮันโนเวอร์

หลังจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรสวรรคตในปี พ.ศ. 2380 มีพระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ได้ขึ้นครองราชย์ต่อ ดังนี้

  • พระเจ้าแอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus I) พ.ศ. 2380-พ.ศ. 2394
  • พระเจ้าเกออร์กที่ 5 แห่งฮันโนเวอร์ (George V) พ.ศ. 2394-พ.ศ. 2409, ถูกถอดจากราชสมบัติ

ราชอาณาจักรฮันโนเวอร์สิ้นสุดลงเมื่อถูกรวมเข้ากับปรัสเซียในปี พ.ศ. 2409

ดัชชีเบราน์ชไวก์

ในปี พ.ศ. 2427 เชื้อสายของราชวงศ์เวลฟ์ (House of Welf) ได้สิ้นสุดลง ตามกฎหมายของราชวงศ์ ราชวงศ์แฮโนเวอร์สามารถขึ้นครองบัลลังก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ แต่กระนั้นก็มีแรงกดดันจากปรัสเซียต่อพระเจ้าจอร์จที่ 5 และแอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พระราชโอรสไม่ให้ขึ้นเป็นรัฐสมาชิกของจักรวรรดิเยอรมัน ตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2422 ได้ตั้งสภาชั่วคราวขึ้นมาเพื่อดูแลเมื่อดยุกถึงแก่อสัญกรรม หรือแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนในกรณีจำเป็น

ดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้อ้างสิทธิเป็นดยุกแห่งเบราน์ชไวก์หลังจากดยุกองค์ก่อนสิ้นพระชนม์ แต่ก็มีการต่อรองที่ยาวนานและปัญหาก็ไม่ได้รับการแก้ไข เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งปรัสเซัย (Prince Albrecht of Prussia) ได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หลังจากพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2449 ดยุกโยฮันน์ อัลแบร์ตแห่งเมคเลนบูร์ก (Duke John Albert of Mecklenburg) ได้ครองราชย์ต่อ โอรสคนโตของดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุรถยนต์ในปี พ.ศ. 2455 ดยุกแห่งคัมเบอร์แลนด์จึงประกาศให้ราชบัลลังก์ตกสู่โอรสองค์เล็ก ผู้ซึ่งแต่งงานกับพระราชธิดาในจักรพรรดิแห่งเยอรมนี (Kaiser) ได้ให้สัตย์ปฏิญาณว่าจะเป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมัน และได้รับอนุญาตให้ขึ้นครองราชบัลลังก์ของดัชชีในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2456 ท่านเป็นนายพลตรี (major-general) ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่ตำแหน่งดยุกแห่งเบราน์ชไวก์ก็ถูกล้มล้างในปี พ.ศ. 2461 บิดาของท่านก็ถูกถอดจากพระอิสริยยศอังกฤษในปี พ.ศ. 2462 เนื่องจากจับอาวุธต่อสู้กับสหราชอาณาจักร

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์

หัวหน้าราชวงศ์ในลำดับถัดมาได้แก่

  • พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ (George V) พ.ศ. 2409-พ.ศ. 2421
  • แอร์นสท์ เอากุสท์ ดยุกที่ 3 แห่งคัมเบอร์แลนด์ (Ernest Augustus, 3rd Duke of Cumberland) พ.ศ. 2421-พ.ศ. 2466
  • แอร์นสท์ เอากุสท์ที่ 3 ดยุกผู้ถูกถอดแห่งบรุนสวิค (จากตำแหน่ง) (Ernest Augustus III, the deposed duke of Brunswick) พ.ศ. 2466-พ.ศ. 2496 โอรสของดยุคคนก่อน
  • แอร์นสท์ เอากุสท์ ผู้อาวุโส เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus the elder, Prince of Hanover) พ.ศ. 2496-พ.ศ. 2530
  • แอร์นสท์ เอากุสท์ ผู้เยาว์ เจ้าชายแห่งฮันโนเวอร์ (Ernest Augustus the younger, Prince of Hanover) พ.ศ. 2530-ปัจจุบัน

ราชวงศ์นี้ปัจจุบันพำนักอยู่ในออสเตรียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2409 พระอิสสริยศและตำแหน่งนี้ใช้เพียงสมมติกันขึ้นมาเพื่อความเคารพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462

เกร็ดข้อมูล

อ้างอิงและเชิงอรรถ

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 252
  2. Picknett, Lynn, Prince, Clive, Prior, Stephen & Brydon, Robert (2002). War of the Windsors: A Century of Unconstitutional Monarchy, p. 13. Mainstream Publishing. ISBN 1-84018-631-3.
  3. ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ได้รวมกันในปี พ.ศ. 2344 เป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
  4. Picknett, Prince, Prior & Brydon, pp. 13, 14.
  5. Picknett, Prince, Prior & Brydon, p. 14.

หนังสืออ่านประกอบ

  • Fraser, Flora. Princesses: The Six Daughters of George III. Knopf, 2005. (อังกฤษ)
  • Plumb, J. H. The First Four Georges. Revised ed. Hamlyn, 1974. (อังกฤษ)
  • Redman, Alvin. The House of Hanover. Coward-McCann, 1960. (อังกฤษ)
  • Van der Kiste, John. George III’s Children. Sutton Publishing, 1992. (อังกฤษ)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น