ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{ตรวจแก้รูปแบบ}}
| ภาพ = ไฟล์:King James II from NPG.jpg
[[ไฟล์:King James II from NPG.jpg|thumb|right|280px |[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]หรือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์]]
| พระปรมาภิไธย = พระเจ้าเจมส์ที่ 2
| วันพระราชสมภพ = [[14 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1633]]
| วันสวรรคต = [[6 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1685]]( 54 ปี)
| พระอิสริยยศ = [[พระมหากษัตริย์อังกฤษ]]<br />[[พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์]]<br />[[พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์]]
| พระราชบิดา = [[พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]]
| พระราชมารดา = [[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ]]
| พระมเหสี = เลดี[[แอนน์ ไฮด์]]<br />[[แมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางแมรีแห่งโมดีนา]]
| พระราชโอรส/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สจวต]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก = 23 เมษายน ค.ศ. 1685
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าชาลส์ที่ 2]]
| รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 3]] ร่วมกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]]
| signature = CharlesIISig.svg
}}
[[ไฟล์:King James II from NPG.jpg|thumb|right|280px |[[พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]หรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์]]
[[ไฟล์:JamesIISig.svg|thumb|พระปรมาภิไธย]]
[[ไฟล์:JamesIISig.svg|thumb|พระปรมาภิไธย]]
'''พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ''' (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) ทรงเป็น '''พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์''' และเป็น '''กษัตริย์แห่งไอร์แลนด์''' ในเวลาเดียวกัน เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2228]] ถึง [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2232]] นับว่าทรงเป็นกษัตริย์ที่นับถือ[[นิกายโรมันคาทอลิก]]เป็นองค์สุดท้ายของอังกฤษ
'''พระเจ้าเจมส์ที่ 2<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 250</ref>แห่งอังกฤษ''' (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ '''พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์''' เป็น[[พระมหากษัตริย์อังกฤษ]] [[พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์]] และ[[พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์]] เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2228]] ถึง [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2232]] นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกาย[[โรมันคาทอลิก]]


เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]]
เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]]


พระเจ้าเจมส์ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ของ[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] และ [[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย]] ทรงประสูติที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]] เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2176 และทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นดยุคแห่งยอร์ค ในปี พ.ศ. 2187 ในระหว่างที่เกิดสงครามกลางเมืองในอังกฤษขึ้นทรงพำนักอยู่ที่เมืองอ็อกซ์ฟอร์ด ภายในฐานที่มั่นของผู้สนับสนุนระบอบการปกครองภายใต้พระมหากษัตริย์
พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]]และ[[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางเฮนเรียตตา มาเรีย]] ทรงประสูติที่[[พระราชวังเซนต์เจมส์]] เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2176 และทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น[[ดยุกแห่งยอร์ก]] ในปี พ.ศ. 2187 ในระหว่างที่เกิดสงครามกลางเมืองในอังกฤษขึ้นทรงพำนักอยู่ที่เมือง[[อ็อกซฟอร์ด]] ภายในฐานที่มั่นของผู้สนับสนุนระบอบการปกครองภายใต้พระมหากษัตริย์


ต่อมาในปี พ.ศ. 2189 เมื่อได้ประกาศยุติสงครามกลางเมืองแล้ว ดยุคแห่งยอร์กทรงถูกกักกันให้อยู่ในเขตพระราชวังเซ็นต์เจมส์ ภายใต้คำสั่งของรัฐสภาหรือคณะผู้แทนราษฎร และในปี พ.ศ. 2191 ก็ทรงหลบหนีออกมาจากพระราชวังโดยการปลอมพระองค์และไปประทับอยู่ที่เมืองเฮก ซึ่งในปัจจุบันกรุงเฮกคือเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเนเธอร์แลนด์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2189 เมื่อได้ประกาศยุติสงครามกลางเมืองแล้ว ดยุกแห่งยอร์กทรงถูกกักกันให้อยู่ในเขตพระราชวังเซนต์เจมส์ ภายใต้คำสั่งของรัฐสภาหรือคณะผู้แทนราษฎร และในปี พ.ศ. 2191 ก็ทรงหลบหนีออกมาจากพระราชวังโดยการปลอมพระองค์และไปประทับอยู่ที่เมืองเฮก ซึ่งในปัจจุบันกรุงเฮกคือเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเนเธอร์แลนด์


ภายหลังจากที่พระเจ้าชารส์ที่ 1 ทรงถูกปลงพระชนม์ โดยในข้อหา[[กบฏต่อแผ่นดิน]]ในปี พ.ศ. 2192 ทางราชสำนักจึงออกประกาศแต่งตั้งให้ดยุคแห่งยอร์กที่ 1 ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าชารส์ที่ 1 ขึ้นครองราชสมบัติแทน โดยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระเจ้าชารส์ที่ 2
ภายหลังจากที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 ทรงถูกปลงพระชนม์ โดยในข้อหา[[กบฏต่อแผ่นดิน]]ในปี พ.ศ. 2192 ทางราชสำนักจึงออกประกาศแต่งตั้งให้ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก ซึ่งเป็นพระราฃโอรสของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ขึ้นครองราชสมบัติแทน โดยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระเจ้าชาลส์ที่ 2


พระเจ้าชารส์ที่ 2 ทรงผ่านการรับรองโดยรัฐสภาแห่งสก็อตแลนด์ และ รัฐสภาแห่งไอร์แลนด์ และในปี พ.ศ. 2194 ทรงเข้ารับการแต่งตั้งให้เป็น กษัตริย์แห่งสก็อตแลนด์ด้วย ถึงกระนั้นก็ตามพระองค์ก็ยังทรงไม่วางใจในความมั่นคงและในด้านความปลอดภัยของพระองค์เอง จึงทรงหลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสในเวลาต่อมา
พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงผ่านการรับรองโดยรัฐสภาแห่งสก็อตแลนด์และรัฐสภาแห่งไอร์แลนด์ และในปี พ.ศ. 2194 ทรงเข้ารับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ด้วย ถึงกระนั้นก็ตามพระองค์ก็ยังทรงไม่วางใจในความมั่นคงและในด้านความปลอดภัยของพระองค์เอง จึงทรงหลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสในเวลาต่อมา


ต่อมาพระเจ้าเจมส์ทรงมองหาที่ลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสเช่นเดียวกับพระเชษฐาของพระองค์ และพระองค์ทรงได้รับการช่วยเหลือจากนักรบฝรั่งเศสที่อยู่ภายใต้การนำของ Turenne ซึ่งเป็นแม่ทัพผู้เกรียงไกรแห่งประเทศฝรั่งเศส
ต่อมาพระเจ้าเจมส์ทรงมองหาที่ลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสเช่นเดียวกับพระเชษฐาของพระองค์ และพระองค์ทรงได้รับการช่วยเหลือจากนักรบฝรั่งเศสที่อยู่ภายใต้การนำของ Turenne ซึ่งเป็นแม่ทัพผู้เกรียงไกรแห่งประเทศฝรั่งเศส


ในปี พ.ศ. 2199 เมื่อพระเชษฐาของพระองค์ คือพระเจ้าชารส์ ได้ทรงเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับประเทศสเปนซึ่งเป็นศัตรูกับฝรั่งเศสในเวลานั้น พระองค์ทรงได้ทรงเข้าร่วมกับทหารสเปนภายใต้การนำของหลุยส์ที่ 2 Prince of Condé ซึ่งเป็นราชนิกูลของราชงศ์เบอร์เบิ้น แห่งฝรั่งเศส และเป็นหนึ่งในนักรบที่เก่งฉกาจที่สุด แห่งศตวรรษที่ 17 ความองอาจทางด้านการทหารทำได้รับสมญานามว่า "The Great Condé" (le Grand Condé) และยังถูกขนานขามว่าเป็น "the French Alexander" หรือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งฝรั่งเศส อีกด้วย
ในปี พ.ศ. 2199 เมื่อพระเชษฐาของพระองค์คือพระเจ้าชาลส์ ได้ทรงเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับประเทศสเปนซึ่งเป็นศัตรูกับฝรั่งเศสในเวลานั้น พระองค์ทรงได้ทรงเข้าร่วมกับทหารสเปนภายใต้การนำของหลุยส์ที่ 2 Prince of Condé ซึ่งเป็นราชนิกูลของราชงศ์บูร์บง แห่งฝรั่งเศส และเป็นหนึ่งในนักรบที่เก่งฉกาจที่สุด แห่งศตวรรษที่ 17 ความองอาจทางด้านการทหารทำได้รับสมญานามว่า "The Great Condé" (le Grand Condé) และยังถูกขนานขามว่าเป็น "the French Alexander" หรือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งฝรั่งเศส อีกด้วย


ในปี พ.ศ. 2203 โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึ่งได้ยึดอำนาจ และดำรงตำแหน่ง “[[เจ้าผู้พิทักษ์]]” (Lord Protector) แห่ง[[เครือจักรภพแห่งอังกฤษ]] ได้ถึงแก่อสัญกรรมลงด้วยไข้มาเลเรีย ณ กรุงลอนดอนเมื่อวันที่ 3 กันยายน
ในปี พ.ศ. 2203 โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึ่งได้ยึดอำนาจและดำรงตำแหน่ง “[[เจ้าผู้อารักขา]]” (Lord Protector) แห่ง[[เครือจักรภพแห่งอังกฤษ]] ได้ถึงแก่อสัญกรรมลงด้วยไข้มาเลเรีย ณ กรุงลอนดอนเมื่อวันที่ 3 กันยายน พระเจ้าชาลส์ได้ทรงกลับคืนสู่บัลลังก์
พระเจ้าชารส์ได้ทรงกลับคืนสู่บัลลังก์


แม้ว่าพระเจ้าเจมส์ทรงเคยเป็นทายาทโดยการถือสิทธิ์ของพระองค์เอง แต่ดูเหมือนว่าพระองค์ทรงปรารถนาที่จะสวมมงกุฎเช่นเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2203 พระเจ้าเจมส์ ซึ่งภายหลังได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น ดยุคแห่งอัลบานี ในแคว้นสก็อตแลนด์ ได้สมรสกับ แอนน์ ไฮด์ บุตรีของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระเจ้าชารส์ หรือ เอ็ดเวิร์ด ไฮด์ ขุนนางแห่งคราเร็นดอ
แม้ว่าพระเจ้าเจมส์เคยเป็นรัชทายาทโดยการถือสิทธิ์ของพระองค์เอง แต่ดูเหมือนว่าพระองค์ทรงปรารถนาที่จะราชาภิเษกเช่นเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2203 พระเจ้าเจมส์ ซึ่งภายหลังได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น[[ดยุกแห่งออลบานี]] ในแคว้นสกอตแลนด์ ได้สมรสกับ[[แอนน์ ไฮด์]] บุตรีของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระเจ้าชาลส์ หรือเอ็ดเวิร์ด ไฮด์ ขุนนางแห่งคราเรนดอ


ในปี พ.ศ. 2208 – พ.ศ. 2210 พระเจ้าเจมส์ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดและเป็นผู้บัญชาการแห่งกองทัพราชนาวีอังกฤษอีกด้วย ต่อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2215 – พ.ศ. 2217 ได้เกิดสงครามชื่อว่า Third Anglo-Dutch Wars ขึ้น ซึ่งสงครามนี้เกิดขึ้นจากการที่ในปี พ.ศ. 2211 อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และสวีเดน ได้ลงนามในสัญญาเข้าร่วมกันเป็นพันธมิตร เพื่อต่อต้านฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาภายหลังพระเจ้าชารส์ที่ 2 ได้ทรงไปเซ็นสัญญาลับสุดยอด หรือสนธิสัญญาข้อตกลงว่าด้วยสันติภาพ Treaty of Dove กับฝรั่งเศสอีกในปี พ.ศ. 2213 ยังผลให้เกิดสงคราม The Third Anglo-Dutch War ขึ้นมาในที่สุด และในภายหลังอังกฤษเข้าร่วมกับฝรั่งเศสเพื่อบุกเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2215 ผลพวงของการเกิดสงครามนี้ทำให้อังกฤษได้ดินแดนบางส่วนของเนเธอร์แลนด์ไป และตั้งชื่อใหม่ว่า นิวยอร์ก “New York” เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์ ส่วนพื้นที่ทางริมฝั่งแม่น้ำฮัดสันถูกเปลี่ยนชื่อเป็นอัลบานี เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์เช่นเดียวกัน และพระองค์ก็ทรงเป็นผู้ก่อตั้ง ''บริษัทเดอะรอยัลแอฟริกันคัมพะนี'' ซึ่งดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้า[[ทาส]]
ในปี พ.ศ. 2208 – พ.ศ. 2210 พระเจ้าเจมส์ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดและเป็นผู้บัญชาการแห่งกองทัพราชนาวีอังกฤษอีกด้วย ต่อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2215 – พ.ศ. 2217 ได้เกิดสงครามชื่อว่า Third Anglo-Dutch Wars ขึ้น ซึ่งสงครามนี้เกิดขึ้นจากการที่ในปี พ.ศ. 2211 อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และสวีเดน ได้ลงนามในสัญญาเข้าร่วมกันเป็นพันธมิตร เพื่อต่อต้านฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาภายหลังพระเจ้าชารส์ที่ 2 ได้ทรงไปเซ็นสัญญาลับสุดยอด หรือสนธิสัญญาข้อตกลงว่าด้วยสันติภาพ Treaty of Dove กับฝรั่งเศสอีกในปี พ.ศ. 2213 ยังผลให้เกิดสงคราม The Third Anglo-Dutch War ขึ้นมาในที่สุด และในภายหลังอังกฤษเข้าร่วมกับฝรั่งเศสเพื่อบุกเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2215 ผลพวงของการเกิดสงครามนี้ทำให้อังกฤษได้ดินแดนบางส่วนของเนเธอร์แลนด์ไป และตั้งชื่อใหม่ว่า นิวยอร์ก “New York” เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์ ส่วนพื้นที่ทางริมฝั่งแม่น้ำฮัดสันถูกเปลี่ยนชื่อเป็นอัลบานี เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์เช่นเดียวกัน และพระองค์ก็ทรงเป็นผู้ก่อตั้ง ''บริษัทเดอะรอยัลแอฟริกันคัมพะนี'' ซึ่งดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้า[[ทาส]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 31: บรรทัด 50:
| สี3 = #E9E9E9
| สี3 = #E9E9E9
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ|พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|พระมหากษัตริย์อังกฤษ]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2]]
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าชาลส์ที่ 2]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3]]<br />และ<br />[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2]]
| ถัดไป = [[พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าวิลเลียมที่ 3]]<br />ร่วมกับ<br />[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระราชินีนาถแมรีที่ 2]]
| จำนวนถัดไป =
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1685]] – [[ค.ศ. 1688]]
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1685]] – [[ค.ศ. 1688]]
บรรทัด 44: บรรทัด 63:
| สี3 = #E9E9E9
| สี3 = #E9E9E9
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์|พระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์|พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = ว่าง
| ก่อนหน้า = ว่าง
บรรทัด 57: บรรทัด 76:
| สี3 = #E9E9E9
| สี3 = #E9E9E9
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| รูปภาพ = England Arms 1603.svg
| ตำแหน่ง = [[พระมหากษัตริย์แห่งไอร์แลนด์]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| ตำแหน่ง = [[พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์]]<br /> ([[ราชวงศ์สจวต]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = ว่าง
| ก่อนหน้า = ว่าง
บรรทัด 69: บรรทัด 88:
{{พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ}}
{{ดยุคแห่งยอร์ค}}
{{ดยุคแห่งยอร์ค}}

{{เรียงลำดับ|จเมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ}}
{{เรียงลำดับ|จมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ}}
{{birth|1633}}
{{birth|1633}}
{{death|1701}}
{{death|1701}}

[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:34, 24 พฤษภาคม 2555

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2
พระมหากษัตริย์อังกฤษ
พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์
พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์
ราชาภิเษก23 เมษายน ค.ศ. 1685
รัชกาลก่อนหน้าพระเจ้าชาลส์ที่ 2
รัชกาลถัดไปพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ร่วมกับพระราชินีนาถแมรีที่ 2
ประสูติ14 ตุลาคม ค.ศ. 1633
สวรรคต6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685( 54 ปี)
พระมเหสีเลดีแอนน์ ไฮด์
พระนางแมรีแห่งโมดีนา
พระเจ้าเจมส์ที่ 2
ราชวงศ์ราชวงศ์สจวต
พระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ
พระราชมารดาเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ
ลายพระอภิไธย
พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์
พระปรมาภิไธย

พระเจ้าเจมส์ที่ 2[1]แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก

เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา

พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ทรงประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2176 และทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นดยุกแห่งยอร์ก ในปี พ.ศ. 2187 ในระหว่างที่เกิดสงครามกลางเมืองในอังกฤษขึ้นทรงพำนักอยู่ที่เมืองอ็อกซฟอร์ด ภายในฐานที่มั่นของผู้สนับสนุนระบอบการปกครองภายใต้พระมหากษัตริย์

ต่อมาในปี พ.ศ. 2189 เมื่อได้ประกาศยุติสงครามกลางเมืองแล้ว ดยุกแห่งยอร์กทรงถูกกักกันให้อยู่ในเขตพระราชวังเซนต์เจมส์ ภายใต้คำสั่งของรัฐสภาหรือคณะผู้แทนราษฎร และในปี พ.ศ. 2191 ก็ทรงหลบหนีออกมาจากพระราชวังโดยการปลอมพระองค์และไปประทับอยู่ที่เมืองเฮก ซึ่งในปัจจุบันกรุงเฮกคือเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเนเธอร์แลนด์

ภายหลังจากที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 ทรงถูกปลงพระชนม์ โดยในข้อหากบฏต่อแผ่นดินในปี พ.ศ. 2192 ทางราชสำนักจึงออกประกาศแต่งตั้งให้ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก ซึ่งเป็นพระราฃโอรสของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ขึ้นครองราชสมบัติแทน โดยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระเจ้าชาลส์ที่ 2

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงผ่านการรับรองโดยรัฐสภาแห่งสก็อตแลนด์และรัฐสภาแห่งไอร์แลนด์ และในปี พ.ศ. 2194 ทรงเข้ารับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ด้วย ถึงกระนั้นก็ตามพระองค์ก็ยังทรงไม่วางใจในความมั่นคงและในด้านความปลอดภัยของพระองค์เอง จึงทรงหลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสในเวลาต่อมา

ต่อมาพระเจ้าเจมส์ทรงมองหาที่ลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศสเช่นเดียวกับพระเชษฐาของพระองค์ และพระองค์ทรงได้รับการช่วยเหลือจากนักรบฝรั่งเศสที่อยู่ภายใต้การนำของ Turenne ซึ่งเป็นแม่ทัพผู้เกรียงไกรแห่งประเทศฝรั่งเศส

ในปี พ.ศ. 2199 เมื่อพระเชษฐาของพระองค์คือพระเจ้าชาลส์ ได้ทรงเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับประเทศสเปนซึ่งเป็นศัตรูกับฝรั่งเศสในเวลานั้น พระองค์ทรงได้ทรงเข้าร่วมกับทหารสเปนภายใต้การนำของหลุยส์ที่ 2 Prince of Condé ซึ่งเป็นราชนิกูลของราชงศ์บูร์บง แห่งฝรั่งเศส และเป็นหนึ่งในนักรบที่เก่งฉกาจที่สุด แห่งศตวรรษที่ 17 ความองอาจทางด้านการทหารทำได้รับสมญานามว่า "The Great Condé" (le Grand Condé) และยังถูกขนานขามว่าเป็น "the French Alexander" หรือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์แห่งฝรั่งเศส อีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2203 โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึ่งได้ยึดอำนาจและดำรงตำแหน่ง “เจ้าผู้อารักขา” (Lord Protector) แห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ได้ถึงแก่อสัญกรรมลงด้วยไข้มาเลเรีย ณ กรุงลอนดอนเมื่อวันที่ 3 กันยายน พระเจ้าชาลส์ได้ทรงกลับคืนสู่บัลลังก์

แม้ว่าพระเจ้าเจมส์เคยเป็นรัชทายาทโดยการถือสิทธิ์ของพระองค์เอง แต่ดูเหมือนว่าพระองค์ทรงปรารถนาที่จะราชาภิเษกเช่นเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2203 พระเจ้าเจมส์ ซึ่งภายหลังได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นดยุกแห่งออลบานี ในแคว้นสกอตแลนด์ ได้สมรสกับแอนน์ ไฮด์ บุตรีของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระเจ้าชาลส์ หรือเอ็ดเวิร์ด ไฮด์ ขุนนางแห่งคราเรนดอ

ในปี พ.ศ. 2208 – พ.ศ. 2210 พระเจ้าเจมส์ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดและเป็นผู้บัญชาการแห่งกองทัพราชนาวีอังกฤษอีกด้วย ต่อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2215 – พ.ศ. 2217 ได้เกิดสงครามชื่อว่า Third Anglo-Dutch Wars ขึ้น ซึ่งสงครามนี้เกิดขึ้นจากการที่ในปี พ.ศ. 2211 อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และสวีเดน ได้ลงนามในสัญญาเข้าร่วมกันเป็นพันธมิตร เพื่อต่อต้านฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาภายหลังพระเจ้าชารส์ที่ 2 ได้ทรงไปเซ็นสัญญาลับสุดยอด หรือสนธิสัญญาข้อตกลงว่าด้วยสันติภาพ Treaty of Dove กับฝรั่งเศสอีกในปี พ.ศ. 2213 ยังผลให้เกิดสงคราม The Third Anglo-Dutch War ขึ้นมาในที่สุด และในภายหลังอังกฤษเข้าร่วมกับฝรั่งเศสเพื่อบุกเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2215 ผลพวงของการเกิดสงครามนี้ทำให้อังกฤษได้ดินแดนบางส่วนของเนเธอร์แลนด์ไป และตั้งชื่อใหม่ว่า นิวยอร์ก “New York” เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์ ส่วนพื้นที่ทางริมฝั่งแม่น้ำฮัดสันถูกเปลี่ยนชื่อเป็นอัลบานี เพื่อเป็นเกียรติแก่พระองค์เช่นเดียวกัน และพระองค์ก็ทรงเป็นผู้ก่อตั้ง บริษัทเดอะรอยัลแอฟริกันคัมพะนี ซึ่งดำเนินกิจการเกี่ยวกับการค้าทาส

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 250
ก่อนหน้า พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ถัดไป
พระเจ้าชาลส์ที่ 2
พระมหากษัตริย์อังกฤษ
(ราชวงศ์สจวต)

(ค.ศ. 1685ค.ศ. 1688)
พระเจ้าวิลเลียมที่ 3
ร่วมกับ
พระราชินีนาถแมรีที่ 2
ว่าง
พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์
(ราชวงศ์สจวต)

(ค.ศ. 1685ค.ศ. 1688)
ว่าง
ว่าง
พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์
(ราชวงศ์สจวต)

(ค.ศ. 1685ค.ศ. 1688)
ว่าง

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA