ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาช่อนเอเชีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DSisyphBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.1) (โรบอต เพิ่ม: sv:Channa
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| subdivision_ranks = [[Species|ชนิด]]
| subdivision_ranks = [[Species|ชนิด]]
| subdivision = <center>28 โดยประมาณ</center>
| subdivision = <center>28 โดยประมาณ</center>
| synonyms = *''Ophicephalus'' Bloch, [[ค.ศ. 1793|1793]]
| synonyms = *''Ophicephalus'' <small>Bloch, [[ค.ศ. 1793|1793]]</small>
*''Bostrychoides'' Lacépède, [[ค.ศ. 1801|1801]]
*''Bostrychoides'' <small>Lacépède, [[ค.ศ. 1801|1801]]</small>
*''Philypnoides'' Bleeker, [[ค.ศ. 1849|1849]]
*''Philypnoides'' <small>Bleeker, [[ค.ศ. 1849|1849]] </small>
| range_map = Channa distribution.gif
| range_map = Channa distribution.gif
| range_map_caption = [[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์ของปลาช่อนในสกุล ''Channa''
| range_map_caption = [[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์ของปลาช่อนในสกุล ''Channa''
}}
}}
'''สกุลปลาช่อนเอเชีย''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Channa}}) [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใน[[วงศ์ปลาช่อน]] (Channidae) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ รูปร่างเรียว[[ทรงกระบอก]] ส่วนหัวโตจะงอยปากยื่น ปากกว้าง ตาโต มีฟันเป็นเขี้ยวบนขากรรไกร หัวด้านบนราบ ถ้าดูจากตอนบนจะโค้งมนคล้าย[[งู]] ลำตัวค่อนข้างกลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบหางปลายมน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเล็ก เกล็ดใหญ่มีขอบเรียบ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นหลืบเนื้อสีแดงอยู่ในคอหอย เรียกว่า suprabranchia จึงสามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มี[[ออกซิเจน]]ต่ำได้ ลำตัวมีลวดลายและสีสันแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด
'''สกุลปลาช่อนเอเชีย''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Channa}}; {{lang-en|Asiatic snakehead}}) [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ใน[[วงศ์ปลาช่อน]] (Channidae) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ รูปร่างเรียว[[ทรงกระบอก]] ส่วนหัวโตจะงอยปากยื่น ปากกว้าง ตาโต มีฟันเป็นเขี้ยวบนขากรรไกร หัวด้านบนราบ ถ้าดูจากตอนบนจะโค้งมนคล้าย[[งู]] ลำตัวค่อนข้างกลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบหางปลายมน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเล็ก เกล็ดใหญ่มีขอบเรียบ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นหลืบเนื้อสีแดงอยู่ในคอหอย เรียกว่า suprabranchia จึงสามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มี[[ออกซิเจน]]ต่ำได้ ลำตัวมีลวดลายและสีสันแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด


แพร่พันธุ์โดยการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับพื้นที่น้ำตื้น ๆ ให้เป็นแปลงกลม แล้ววางไข่ลอยเป็นแพ ตัวผู้เป็นผู้ดูแลไข่จนไข่ฟักเป็นตัวแล้วเลี้ยงลูกปลาจนโต เรียกว่า "ลูกครอก" ซึ่งมีสีแดงหรือส้ม รูปร่างคล้ายพ่อแม่ จากนั้นจึงปล่อยให้หากินเอง
แพร่พันธุ์โดยการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับพื้นที่น้ำตื้น ๆ ให้เป็นแปลงกลม แล้ววางไข่ลอยเป็นแพ ตัวผู้เป็นผู้ดูแลไข่จนไข่ฟักเป็นตัวแล้วเลี้ยงลูกปลาจนโต เรียกว่า "ลูกครอก" ซึ่งมีสีแดงหรือส้ม รูปร่างคล้ายพ่อแม่ จากนั้นจึงปล่อยให้หากินเอง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:50, 11 พฤษภาคม 2555

ปลาช่อนเอเชีย
ปลาช่อนเจ็ดสี (Channa bleheri)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Channidae
สกุล: Channa
Scopoli, 1777
ชนิด
28 โดยประมาณ
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของปลาช่อนในสกุล Channa
ชื่อพ้อง
  • Ophicephalus Bloch, 1793
  • Bostrychoides Lacépède, 1801
  • Philypnoides Bleeker, 1849

สกุลปลาช่อนเอเชีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Channa; อังกฤษ: Asiatic snakehead) สกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) ปลาในสกุลนี้ มีรูปร่างโดยรวมคือ รูปร่างเรียวทรงกระบอก ส่วนหัวโตจะงอยปากยื่น ปากกว้าง ตาโต มีฟันเป็นเขี้ยวบนขากรรไกร หัวด้านบนราบ ถ้าดูจากตอนบนจะโค้งมนคล้ายงู ลำตัวค่อนข้างกลม ครีบหลังและครีบก้นยาว ครีบหางปลายมน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเล็ก เกล็ดใหญ่มีขอบเรียบ มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นหลืบเนื้อสีแดงอยู่ในคอหอย เรียกว่า suprabranchia จึงสามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนต่ำได้ ลำตัวมีลวดลายและสีสันแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด

แพร่พันธุ์โดยการวางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันปรับพื้นที่น้ำตื้น ๆ ให้เป็นแปลงกลม แล้ววางไข่ลอยเป็นแพ ตัวผู้เป็นผู้ดูแลไข่จนไข่ฟักเป็นตัวแล้วเลี้ยงลูกปลาจนโต เรียกว่า "ลูกครอก" ซึ่งมีสีแดงหรือส้ม รูปร่างคล้ายพ่อแม่ จากนั้นจึงปล่อยให้หากินเอง

แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย พบได้ในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก

มีขนาดรูปร่างแตกต่างกันอย่างมากตามแต่ละชนิด โดยพบมีความยาวตั้งแต่ 1.5 เมตร เช่น Channa micropeltes หรือ C. aurolineatus ไปจนถึงไม่ถึงหนึ่งฟุต

ปัจจุบันพบแล้วประมาณ 28 ชนิด[1]

มีความสำคัญในฐานะเป็นปลาเศรษฐกิจที่บริโภคกันเป็นอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนิด C. striata[2] และก็มีหลายชนิดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เช่น C. limbata, C. bleheri, C. stewartii เป็นต้น

อ้างอิง

  1. Fishbase
  2. หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์ (กรุงเทพ, พ.ศ. 2544) ISBN 974-475-655-5