ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาโซโรอัสเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AvocatoBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ast:Zoroastrismu
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
[[an:Zoroastrismo]]
[[an:Zoroastrismo]]
[[ar:زرادشتية]]
[[ar:زرادشتية]]
[[ast:Zoroastrismu]]
[[az:Zərdüştilik]]
[[az:Zərdüştilik]]
[[bat-smg:Zuoruoastrėzmos]]
[[bat-smg:Zuoruoastrėzmos]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:44, 7 พฤษภาคม 2555

ประวัติ

ศาสนาโซโรอัสเตอร์ (อังกฤษ: Zoroastrianism) ได้ชื่อนามศาสดาผู้ให้กำเนิด ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซาราธุสตรา (Zarathustra) ศาสนาสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า ศาสนาปาร์ซีเพราะเกิดขึ้นในเปอร์เซีย (อิหร่านในปัจจุบัน) เมื่อประมาณหกศตวรรษก่อนคริสตกาล

ศาสนานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ลัทธิมาสดา ซึ่งมีความหมายว่าลัทธิบูชาพระเจ้าอาหุรมาสดา (Ahura Mazda)ได้แก่ พระเจ้าผู้เป็นจอมอสูรและอาศัยเหตุที่ว่าโซโรอัสเตอร์ประกาศว่า พระเจ้าอาหุรมาสดาเป็นพระเจ้าแห่งความดีและแสงสว่าง ผู้ที่นับถือใช้แสงประทีปเป็นเครื่องหมายแห่งการบูชา จึงเรียกว่าศาสนาบูชาไฟ (Religion of Fire Worshipper) ก็มี

ที่กำเนิดศาสนา

ศาสนาโซโรอัสเตอร์ เกิดขึ้นตรงดินแดนอันเป็นที่ราบสูง อนุมานราวแคว้นอาเซอร์ไบจานติดไปทางตะวันออกเฉียงเหนือใกล้ชายแดนของรัสเซียในปัจจุบัน

การเผยแพร่ศาสนา

โซโรอัสเตอร์มีบุตร 6 คน เป็นบุตรชาย 3 คน และบุตรสาว 3 คน เกิดแต่ภรรยา 3 คน ลูกสาวคนหนึ่ง สมรสกับอัครมหาเสนาบดี ลูกสาวคนนี้เป็นกำลังในการเผยแพร่ศาสนาแก่บิดาเป็นอันมาก ส่วนลูกชายทั้ง 3 คน รับราชการผู้บังคับบัญชากองทหารอยู่กองทัพกษัตริย์เปอร์เซียและได้เป็นกำลังอย่างยิ่งในการเผยแพร่ศาสนา

คัมภีร์ทางศาสนา

คัมภีร์ทางศาสนาคือคัมภีร์อเวสตะ ใช้ภาษาอเวสตะในการเขียนคัมภีร์

นิกาย

ศาสนาโซโรอัสเตอร์มีนิกายอยู่ 2 นิกาย แต่ละนิกายจะแต่ต่างทางด้านพิธีกรรม ได้แก่

  1. กัทมิท
  2. ชหันชหิต

สาเหตุความเสื่อมของศาสนา

1. คือเมื่อสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชมีชัยต่อเปอร์เซียพระองค์ทรงบังคับให้ชาวเปอร์เซียนับถือเทพเจ้ากรีก

2. เมื่อชาวอาหรับมารุกรานก็ได้บังคับให้ชาวเปอร์เซียนับถืออิสลาม ชาวเปอร์เซียที่ไม่ยอมนับถือจึงอพยพมาที่อินเดีย ในเมืองบอมเบย์ (มุมไบ)ปัจจุบันมีชาวโซโรอัสเตอร์ในอินเดีย 9 หมื่นคน

อ้างอิง

  • Kulke, Eckehard: The Parsees in India: a minority as agent of social change. München: Weltforum-Verlag (= Studien zur Entwicklung und Politik 3), ISBN 3-8039-00700-0
  • Ervad Sheriarji Dadabhai Bharucha: A Brief sketch of the Zoroastrian Religion and Customs
  • Dastur Khurshed S. Dabu: A Handbook on Information on Zoroastrianism
  • Dastur Khurshed S. Dabu: Zarathustra an his Teachings A Manual for Young Students
  • Jivanji Jamshedji Modi: The Religious System of the Parsis
  • R. P. Masani: The religion of the good life Zoroastrianism
  • P. P. Balsara: Highlights of Parsi History
  • Maneckji Nusservanji Dhalla: History of Zoroastrianism; dritte Auflage 1994, 525 p, K. R. Cama, Oriental Institute, Bombay
  • Dr. Ervad Dr. Ramiyar Parvez Karanjia: Zoroastrian Religion & Ancient Iranian Art
  • Adil F. Rangoonwalla: Five Niyaeshes, 2004, 341 p.
  • Aspandyar Sohrab Gotla: Guide to Zarthostrian Historical Places in Iran
  • J. C. Tavadia: The Zoroastrian Religion in the Avesta, 1999
  • S. J. Bulsara: The Laws of the Ancient Persians as found in the "Matikan E Hazar Datastan" or "The Digest of a Thousand Points of Law", 1999
  • M. N. Dhalla: Zoroastrian Civilization 2000
  • Marazban J. Giara: Global Directory of Zoroastrian Fire Temples, 2. Auflage, 2002, 240 p, 1
  • D. F. Karaka: History of The Parsis including their manners, customs, religion and present position, 350 p, illus.
  • Piloo Nanavatty: The Gathas of Zarathushtra, 1999, 73 p, (illus.)
  • Roshan Rivetna: The Legacy of Zarathushtra, 96 p, (illus.)
  • Dr. Sir Jivanji J. Modi: The Religious Ceremonies and Customs of The Parsees, 550 Seiten
  • Mani Kamerkar, Soonu Dhunjisha: From the Iranian Plateau to the Shores of Gujarat, 2002, 220 p
  • I.J.S. Taraporewala: The Religion of Zarathushtra, 357 p
  • Jivanji Jamshedji Modi: A Few Events in The Early History of the Parsis and Their Dates, 2004, 114 p
  • Dr. Irach J. S.Taraporewala: Zoroastrian Daily Prayers, 250 p
  • Adil F.Rangoonwalla: Zoroastrian Etiquette, 2003, 56 p
  • Rustom C Chothia: Zoroastrian Religion Most Frequently Asked Questions, 2002, 44 p