ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก''' ({{lang-en|conscientious objector}}) คือ ปัจเจกชนที่ใช้สิทธิ์ปฏิเสธการเกณฑ์ทหาร<ref>On July 30, 1993, explicit clarification of the [[International Covenant on Civil and Political Rights]] Article 18 was made in the [[United Nations]] [[Human Rights Committee]] general comment 22, Para. 11: {{cite web|url=http://www.ohchr.org/EN/Issues/FreedomReligion/Pages/IstandardsI3k.aspx|title=Special Rapporteur on freedom of religion or belief. Framework for communications. Conscientious Objection |publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2012-05-07}}</ref>ด้วยเหตุเสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และ/หรือ ศาสนา<ref>{{cite web|url=http://www2.ohchr.org/english/law/ccpr.htm|title=International Covenant on Civil and Political Rights; See Article 18|publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2008-05-15}}</ref>
'''ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก''' ({{lang-en|conscientious objector}}) คือ ปัจเจกชนที่ใช้สิทธิ์ปฏิเสธการเกณฑ์ทหาร<ref>On July 30, 1993, explicit clarification of the [[International Covenant on Civil and Political Rights]] Article 18 was made in the [[United Nations]] [[Human Rights Committee]] general comment 22, Para. 11: {{cite web|url=http://www.ohchr.org/EN/Issues/FreedomReligion/Pages/IstandardsI3k.aspx|title=Special Rapporteur on freedom of religion or belief. Framework for communications. Conscientious Objection |publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2012-05-07}}</ref>ด้วยเหตุเสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และ/หรือ ศาสนา<ref>{{cite web|url=http://www2.ohchr.org/english/law/ccpr.htm|title=International Covenant on Civil and Political Rights; See Article 18|publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2008-05-15}}</ref>


[[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] (UNCHR) มีมติรับรองว่าการปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิใน[[กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง]] และขยายความไปว่าผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มีการเกณฑ์ทหารให้จัดระบบในการคัดกรองผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้
[[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] (UNCHR) มีมติรับรองว่าการปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิใน[[กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง]] และขยายความไปว่าผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มี[[การเกณฑ์ทหาร]]ให้จัดระบบคัดกรองผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้
<ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref><ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/TestFrame/3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a?Opendocument</ref><ref>[http://www.bayefsky.com/pdf/korea_t5_iccpr_1321_1322_2004.pdf HRC views in case Yoon and Choi v. Republic of Korea, communications nos. 1321-1322/2004]</ref> อนึ่ง UNCHR ยังสนับสนุนให้รัฐต่างๆ รับพิจารณาผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นผู้ลี้ภัยตาม [[the 1951 Convention relating to the Status of Refugees]] <ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref>
<ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref><ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/TestFrame/3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a?Opendocument</ref><ref>[http://www.bayefsky.com/pdf/korea_t5_iccpr_1321_1322_2004.pdf HRC views in case Yoon and Choi v. Republic of Korea, communications nos. 1321-1322/2004]</ref> อนึ่ง UNCHR ยังสนับสนุนให้รัฐต่างๆ รับพิจารณาผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกที่เกรงกลัวว่าจะถูกดำเินินคดีเป็นผู้ลี้ภัยตาม [[the 1951 Convention relating to the Status of Refugees]] <ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref>


อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติมีหลายประเทศที่มีการเกณฑ์ทหารแต่มิได้มีทางเลือกให้แก่ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก และหลายประเทศก็เข้มงวดกับการรับผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นผู้ลี้ภัย UNCHR กระทำได้เพียงวิจารณ์นโยบายของรัฐเหล่านั้น<ref>http://rsq.oxfordjournals.org/content/26/2/69.abstract</ref>
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติมีหลายประเทศที่มีการเกณฑ์ทหารแต่มิได้มีทางเลือกให้แก่ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก และหลายประเทศก็เข้มงวดกับการรับผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นผู้ลี้ภัย UNCHR กระทำได้เพียงวิจารณ์นโยบายของรัฐเหล่านั้น<ref>http://rsq.oxfordjournals.org/content/26/2/69.abstract</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:21, 6 พฤษภาคม 2555

ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก (อังกฤษ: conscientious objector) คือ ปัจเจกชนที่ใช้สิทธิ์ปฏิเสธการเกณฑ์ทหาร[1]ด้วยเหตุเสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และ/หรือ ศาสนา[2]

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNCHR) มีมติรับรองว่าการปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนสำนึก และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และขยายความไปว่าผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มีการเกณฑ์ทหารให้จัดระบบรคัดกรองผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้ [3][4][5] อนึ่ง UNCHR ยังสนับสนุนให้รัฐต่างๆ รับพิจารณาผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกที่เกรงกลัวว่าจะถูกดำเินินคดีเป็นผู้ลี้ภัยตาม the 1951 Convention relating to the Status of Refugees [6]

อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติมีหลายประเทศที่มีการเกณฑ์ทหารแต่มิได้มีทางเลือกให้แก่ผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึก และหลายประเทศก็เข้มงวดกับการรับผู้ปฏิเสธการเกณฑ์ทหารด้วยมโนสำนึกเป็นผู้ลี้ภัย UNCHR กระทำได้เพียงวิจารณ์นโยบายของรัฐเหล่านั้น[7]

อ้างอิง

  1. On July 30, 1993, explicit clarification of the International Covenant on Civil and Political Rights Article 18 was made in the United Nations Human Rights Committee general comment 22, Para. 11: "Special Rapporteur on freedom of religion or belief. Framework for communications. Conscientious Objection". Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. สืบค้นเมื่อ 2012-05-07.
  2. "International Covenant on Civil and Political Rights; See Article 18". Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. สืบค้นเมื่อ 2008-05-15.
  3. http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument
  4. http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/TestFrame/3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a?Opendocument
  5. HRC views in case Yoon and Choi v. Republic of Korea, communications nos. 1321-1322/2004
  6. http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument
  7. http://rsq.oxfordjournals.org/content/26/2/69.abstract