ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
* '''จิ้น''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 晉語, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 晋语, [[พินอิน]]: Jìnyǔ ''จิ้นอวี่'') แยกมาจาก แมนดาริน
* '''จิ้น''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 晉語, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 晋语, [[พินอิน]]: Jìnyǔ ''จิ้นอวี่'') แยกมาจาก แมนดาริน
* '''ฮุย''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 徽語, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 徽语, [[พินอิน]]: Huīyǔ ''ฮุยอวี่'') หรือ ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 徽州話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 徽州话, [[พินอิน]]: Huīzhōuhuà ''ฮุยโจวฮว่า'') แยกมาจาก อู๋
* '''ฮุย''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 徽語, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 徽语, [[พินอิน]]: Huīyǔ ''ฮุยอวี่'') หรือ ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 徽州話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 徽州话, [[พินอิน]]: Huīzhōuhuà ''ฮุยโจวฮว่า'') แยกมาจาก อู๋
* '''ผิง''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 平話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 平话 , [[พินอิน]]: Ping yǔ ''ผิงอวี่'') แยกมาจาก กวางตุ้ง มากวิขึ้นมากอรุขึ้นมากดาขึ้นมากธนาขึ้นมากเทพมากตาเล็กมากลักษมากรัตยามากจารุมากพิชะมากพิชมากมชมากสุมากจักรมากมคูณมากภัทรมากอิทมากฉลองมากทัตมากมากสุรพลมากชัดเจนดาขึ้นมากเทพมากภัคมากธันมันมากธวัชมากธีระมากกรินมากณฐมากรบมากอภินันทร์มากสกลมากอภิชาติมากอภิชิตมากชนม์มากวสมากจิมากจักรมากวิรุฬมากจรัสมากจุฑามากสิทมากนัยนามากนงมากอรรคมากฐานมากธีมากสัจมากไรมากสุรีมากภานุมากจรูญมากมคูณมากภัคมากเจนมากวิงมากมากสมุทมากปริมากเจิมมากยุมากเรมากดอกมากเกียงมากอรมากโฆมากปิยะมากบัญมากเอกมากชูมากมามากอินมากเสริฐมากลักมากโกมากจิตรามากอริมากวสมากพรรณมากรัชมากวิทยามากกำมากประมากกนกมากชิดมากธัน พ่องตายทุกคน
* '''ผิง''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 平話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 平话 , [[พินอิน]]: Ping yǔ ''ผิงอวี่'') แยกมาจาก กวางตุ้ง


{{วิกิภาษาอื่น|zh}}
{{วิกิภาษาอื่น|zh}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:47, 14 เมษายน 2555

ภาษาจีน
汉语 ฮั่นอวี่, 中文 จงเหวิน
ประเทศที่มีการพูดจีน (จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง มาเก๊า) สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน และ เกาะอื่น) มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม พม่า กัมพูชา สิงคโปร์ และบางส่วนใน ญี่ปุ่น เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ และชุมชนจีน ทั่วโลก
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก บางส่วนในเอเชียใต้ และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงยุโรป และอเมริกา
จำนวนผู้พูด1.3 พันล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
  • ภาษาจีน
ระบบการเขียนอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวย่อ พินอิน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการPRC ROC สิงคโปร์ สหประชาชาติ
ผู้วางระเบียบในสาธารณรัฐประชาชนจีน: หลายหน่วยงาน
ในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) : Mandarin Promotion Council
ในสิงคโปร์: Promote Mandarin Council/ Speak Mandarin Campaign [1]
รหัสภาษา
ISO 639-1zh
ISO 639-2chi (B)
zho (T)
ISO 639-3มีหลากหลาย:
cdo – Min Dong
cjy – Jinyu
cmn – จีนกลาง
cpx – Pu-Xian
czh – Huizhou
czo – Min Zhong
dng – Dungan
gan – กั้น
hak – แคะ
hsn – เซียง
mnp – Min Bei
nan – Min Nan
wuu – อู๋
yue – กวางตุ้ง
พัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ

ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"

ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)

นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ

ไฟล์:Sinitic Languages.gif
แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน

ภาษาพูดของจีน

แผนที่ด้านขวาแสดงพื้นที่ที่มีประชาชนพูด ทั้งภาษาและสำเนียงภาษาจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพื้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้ ตาเล็กมากนิขึ้น

นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาษาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้างบนอีก 3 ประเภท ได้แก่

  • จิ้น (จีนตัวเต็ม: 晉語, จีนตัวย่อ: 晋语, พินอิน: Jìnyǔ จิ้นอวี่) แยกมาจาก แมนดาริน
  • ฮุย (จีนตัวเต็ม: 徽語, จีนตัวย่อ: 徽语, พินอิน: Huīyǔ ฮุยอวี่) หรือ (จีนตัวเต็ม: 徽州話, จีนตัวย่อ: 徽州话, พินอิน: Huīzhōuhuà ฮุยโจวฮว่า) แยกมาจาก อู๋
  • ผิง (จีนตัวเต็ม: 平話, จีนตัวย่อ: 平话 , พินอิน: Ping yǔ ผิงอวี่) แยกมาจาก กวางตุ้ง มากวิขึ้นมากอรุขึ้นมากดาขึ้นมากธนาขึ้นมากเทพมากตาเล็กมากลักษมากรัตยามากจารุมากพิชะมากพิชมากมชมากสุมากจักรมากมคูณมากภัทรมากอิทมากฉลองมากทัตมากมากสุรพลมากชัดเจนดาขึ้นมากเทพมากภัคมากธันมันมากธวัชมากธีระมากกรินมากณฐมากรบมากอภินันทร์มากสกลมากอภิชาติมากอภิชิตมากชนม์มากวสมากจิมากจักรมากวิรุฬมากจรัสมากจุฑามากสิทมากนัยนามากนงมากอรรคมากฐานมากธีมากสัจมากไรมากสุรีมากภานุมากจรูญมากมคูณมากภัคมากเจนมากวิงมากมากสมุทมากปริมากเจิมมากยุมากเรมากดอกมากเกียงมากอรมากโฆมากปิยะมากบัญมากเอกมากชูมากมามากอินมากเสริฐมากลักมากโกมากจิตรามากอริมากวสมากพรรณมากรัชมากวิทยามากกำมากประมากกนกมากชิดมากธัน พ่องตายทุกคน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA