ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โซะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
:''"ソ" เปลี่ยนทางมาที่นี่ ระวังสับสนกับ [[อึง]] "ン"''
: ''"ソ" เปลี่ยนทางมาที่นี่ ระวังสับสนกับ [[อึง]] "ン"''
{{Infobox kana
{{Infobox kana
|Hiragana image =Japanese_Hiragana_kyokashotai_SO.png
| Hiragana image =Japanese_Hiragana_kyokashotai_SO.png
|Katakana image = Japanese Katakana SO.png
| Katakana image = Japanese Katakana SO.png
|Transliteration = so
| Transliteration = so
|Transliteration Dakuten = zo
| Transliteration Dakuten = zo
|Hiragana Manyogana = 曽
| Hiragana Manyogana = 曽
|Katakana Manyogana = 曽
| Katakana Manyogana = 曽
|Spelling = そろばんのソ<br />(โซะโระบัง โนะ โซะ)
| Spelling = そろばんのソ<br /> (โซะโระบัง โนะ โซะ)
|Morse = ---・
| Morse = ---・
|Braille = [[ไฟล์:Braille W.svg|32px|⠺]]
| Braille = [[ไฟล์:Braille W.svg|32px|⠺]]
|Unicode = U+305D, U+30BD
| Unicode = U+305D, U+30BD
|Footnotes =
| Footnotes =
}}
}}
'''โซะ''' เป็น[[คะนะ]]ของ[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตัวหนึ่ง [[ฮิระงะนะ]]เขียนว่า そ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของ[[มันโยงะนะ]] 曽 และ[[คะตะกะนะ]]เขียนว่า ソ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 曽 ออกเสียงว่า {{เสียง/คะนะ|so}} เมื่อเติม[[ดะกุเต็ง]]จะออกเสียงว่า {{เสียง/คะนะ|zo}}
'''โซะ''' เป็น[[คะนะ]]ของ[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตัวหนึ่ง [[ฮิระงะนะ]]เขียนว่า そ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของ[[มันโยงะนะ]] 曽 และ[[คะตะกะนะ]]เขียนว่า ソ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 曽 ออกเสียงว่า {{เสียง/คะนะ|so}} เมื่อเติม[[ดะกุเต็ง]]จะออกเสียงว่า {{เสียง/คะนะ|zo}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 7 เมษายน 2555

"ソ" เปลี่ยนทางมาที่นี่ ระวังสับสนกับ อึง "ン"
ไฟล์:Japanese Hiragana kyokashotai SO.png
ฮิรางานะ

คาตากานะ
การถอดอักษร so
+ดากูเต็ง zo
มังโยงานะ
ของฮิรางานะ
มังโยงานะ
ของคาตากานะ
รหัสเรียกขาน そろばんのソ
(โซะโระบัง โนะ โซะ)
รหัสมอร์ส ---・
อักษรเบรลล์ ⠺
ยูนิโคด U+305D, U+30BD
คะนะ
อึง วะ ระ ยะ มะ ฮะ นะ ทะ ซะ คะ อะ
วิ ริ มิ ฮิ นิ ชิ ชิ คิ อิ
รุ ยุ มุ ฟุ นุ สึ ซุ คุ อุ
เวะ เระ เมะ เฮะ เนะ เทะ เซะ เคะ เอะ
โวะ โระ โยะ โมะ โฮะ โนะ โทะ โซะ โคะ โอะ
เคะตัวเล็ก · สึตัวเล็ก · โยะริ · โคะโตะ
ดะกุเต็ง · ฮันดะกุเต็ง · โชอมปุ

โซะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า そ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 曽 และคะตะกะนะเขียนว่า ソ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 曽 ออกเสียงว่า [so] เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า [zo]

そ เป็นอักษรลำดับที่ 15 อยู่ระหว่าง せ (เซะ) กับ た (ทะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ そ เป็นอักษรลำดับที่ 18 อยู่ระหว่าง れ (เระ) กับ つ (สึ)

รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน
ธรรมดา so โซะ ธรรมดา
+ดะกุเต็ง
zo โซะ
sou
そう, そぅ
そお, そぉ
そー, そ~
ソウ, ソゥ
ソオ, ソォ
ソー, ソ~
โซ zou
ぞう, ぞぅ
ぞお, ぞぉ
ぞー, ぞ~
ゾウ, ゾゥ
ゾオ, ゾォ
ゾー, ゾ~
โซ

อักษรแบบอื่น

ส่วนบนของโซะแบบฮิระงะนะอาจเขียนเป็นเส้นเดียวเช่นนี้ หรือแยกเป็นสองขีดเช่นนี้ ก็ได้

อักขระ ยูนิโคด จิส เอกซ์ 0213[1] ความหมาย
U+305D 1-4-29 ฮิระงะนะ โซะ (so)
U+305E 1-4-30 ฮิระงะนะ โซะ (zo)
U+30BD 1-5-29 คะตะกะนะ โซะ (so)
U+30BE 1-5-30 คะตะกะนะ โซะ (zo)
U+32DE 1-12-73 คะตะกะนะ โซะ (so) ในวงกลม
ソ U+FF7F ไม่มี คะตะกะนะ โซะ (so) ครึ่งความกว้าง

ลำดับขีด

ลำดับขีดในการเขียน そ
ลำดับขีดในการเขียน そ
ลำดับขีดในการเขียน ソ
ลำดับขีดในการเขียน ソ

ฮิระงะนะ そ มีลำดับขีด 1 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนจากซ้ายไปขวาในตำแหน่งบน หักเส้นเฉียงลงซ้ายถึงตำแหน่งกลางบรรทัด หักเส้นนอนไปทางขวายาวกว่าเส้นบนเล็กน้อย แล้วหักเส้นโค้งคล้ายวงเล็บเปิด

คะตะกะนะ ソ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนเฉียงลงในตำแหน่งบน ความยาวเล็กน้อย
  2. ขีดเส้นโค้งลงทางซ้ายถัดจากเส้นแรก

หมายเหตุ เส้นที่สอง ソ (โซะ) ขีดเส้นจากบนลงล่าง ในขณะที่ ン (อึง) ขีดเส้นจากล่างขึ้นบน ลักษณะที่ปรากฏจึงต่างกันเล็กน้อย

คันจิ

ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าโซะ และขึ้นต้นด้วยโซะ มีดังนี้

噌 塑 岨 措 曾 曽 楚 狙 疏 疎 礎 祖 租 粗 素 組 蘇 訴 阻 遡
鼠 僧 創 双 叢 倉 喪 壮 奏 爽 宋 層 匝 惣 想 捜 掃 挿 掻 操
早 曹 巣 槍 槽 漕 燥 争 痩 相 窓 糟 総 綜 聡 草 荘 葬 蒼 藻
装 走 送 遭 鎗 霜 騒 像 増 憎 臓 蔵 贈 造 促 側 則 即 息 捉
束 測 足 速 俗 属 賊 族 続 卒 袖 其 揃 存 孫 尊 損 村 遜

อ้างอิง