ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับสัตว์กินแมลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vagobot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: koi:Гебсёйиссез
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Hedgehog-en.jpg|thumb|250px|[[Erinaceus europaeus|เฮดจ์ฮอก ]] (''Erinaceus europaeus'') จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับนี้]]
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Taxobox
| color = pink
| name = อินเซคทิวอรา
| image = Hedgehog-en.jpg
| image_caption = [[ตุ่น|ตัวตุ่น]] จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีสายรก
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
| classis = [[Mammal]]ia
| ordo = '''Eulipotyphla'''
| ordo_authority = [[Ernst Haeckel|Haeckel]], 1866
| subdivision_ranks = วงศ์
| subdivision =
*[[Erinaceidae]]<br />
*[[Soricidae]]<br />
*[[Talpidae]]<br />
*[[Solenodontidae]]<br />
*[[Nesophontidae]]
}}


'''อินเซคทิวอรา''' ''(Order Insectivora)'' จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] สัตว์กลุ่มนี้กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งพวกที่ออกหากินในเวลากลางวัน(Dirunal) และออกหากินในเวลากลางคืน (Nocturnal) มีขนาดเล็ก อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า (plantigrade)สมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี (Olfactory bulb) แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังกินสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่น [[หนูผี]] [[หนูเหม็น]] [[ตุ่น]]
'''อันดับสัตว์กินแมลง''' ([[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]: Insectivora, อ่านออกเสียง /อิน-เซค-ทิ-วอ-รา/) เป็น[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]ของ[[สัตว์]]ที่จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] มีลักษณะโดยรวมคือ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กิน[[แมลง]]เป็นอาหาร มีทั้งพวกที่ออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่น [[หนูผี]], [[หนูเหม็น]], [[ตุ่น]] เป็นต้น

สัตว์ในอันดับนี้ ช่วยทำลายศัตรูป่าไม้ ต้นไม้ในป่าจะมีศัตรูตามธรรมชาติเสมอ ๆ เช่น โรคพืชที่จากแมลง เป็นต้น แต่ศัตรูเหล่านี้จะไม่ระบาด โดยเฉพาะแมลงหากมีตัวทำลายสัตว์ป่าหลายชนิดเป็นตัวกำจัดแมลง กินแมลงที่มาทำลายใบ ดอก และผล ตุ่นและหนูผี จะกินหนอนที่มากินรากและลำต้นใต้ดิน

แต่ในปัจจุบัน อันดับนี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้วโดยได้แยกออกมาเป็นอับดับต่างหากเอง 5 อันดับ คือ [[Afrosoricida]], [[Erinaceidae]], [[Macroscelidea]], [[Scandentia]], [[Soricomorpha]] แต่ในบางข้อมูลยังคงจัดเป็นอันดับอยู่<ref>สัตววิทยา (การจัดหมวดหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 414 - 416</ref><ref>Hutterer, Rainer (16 November 2005). Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M.. ed. Mammal Species of the World (3rd ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). pp. 220–311. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494. http://www.bucknell.edu/msw3.</ref>

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


สัตว์ประเภทนี้ ช่วยทำลายศัตรูป่าไม้ ต้นไม้ในป่าจะมีศัตรูตามธรรมชาติเสมอ ๆ เช่น โรคและแมลง เป็นต้น แต่ศัตรูเหล่านี้จะไม่ระบาด โดยเฉพาะแมลงหากมีตัวทำลายสัตว์ป่าหลายชนิดเป็นตัวกำจัดแมลง กินแมลงที่มาทำลายใบ ดอก และผล ตุ่น หนูผี จะกินหนอนที่มากินรากและลำต้นใต้ดิน


[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]

{{โครงสัตว์}}


[[als:Insektenfresser]]
[[als:Insektenfresser]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:43, 3 เมษายน 2555

เฮดจ์ฮอก (Erinaceus europaeus) จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับนี้

อันดับสัตว์กินแมลง (อันดับ: Insectivora, อ่านออกเสียง /อิน-เซค-ทิ-วอ-รา/) เป็นอันดับของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีลักษณะโดยรวมคือ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก กินแมลงเป็นอาหาร มีทั้งพวกที่ออกหากินในเวลากลางวัน และออกหากินในเวลากลางคืน อาศัยอยู่บนพื้นและบนต้นไม้ ยืนด้วยฝ่าเท้า มีสมองส่วนรับกลิ่นเจริญดี แต่สายตาไม่ดี นอกจากกินแมลงแล้วยังอาจจะยังกินสัตว์ที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ตัวอย่างเช่น หนูผี, หนูเหม็น, ตุ่น เป็นต้น

สัตว์ในอันดับนี้ ช่วยทำลายศัตรูป่าไม้ ต้นไม้ในป่าจะมีศัตรูตามธรรมชาติเสมอ ๆ เช่น โรคพืชที่จากแมลง เป็นต้น แต่ศัตรูเหล่านี้จะไม่ระบาด โดยเฉพาะแมลงหากมีตัวทำลายสัตว์ป่าหลายชนิดเป็นตัวกำจัดแมลง กินแมลงที่มาทำลายใบ ดอก และผล ตุ่นและหนูผี จะกินหนอนที่มากินรากและลำต้นใต้ดิน

แต่ในปัจจุบัน อันดับนี้ได้ถูกยกเลิกไปแล้วโดยได้แยกออกมาเป็นอับดับต่างหากเอง 5 อันดับ คือ Afrosoricida, Erinaceidae, Macroscelidea, Scandentia, Soricomorpha แต่ในบางข้อมูลยังคงจัดเป็นอันดับอยู่[1][2]

อ้างอิง

  1. สัตววิทยา (การจัดหมวดหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 414 - 416
  2. Hutterer, Rainer (16 November 2005). Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M.. ed. Mammal Species of the World (3rd ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). pp. 220–311. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494. http://www.bucknell.edu/msw3.