ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับย่อยเม่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ช้างดำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
{{ขยายความ}}
{{Taxobox
{{Taxobox
| color = pink
| color = pink
| name = เม่น
| name =
| image = Coendou prehensilis.001 - Natural History Museum of London.JPG
| image = PorcupineCabelasSpringfield0511.jpg
| image_width = 250px
| image_width = 250px
| image_caption = [[เม่นต้นไม้]] หรือ เม่นบราซิล (''Coendou prehensilis'') จัดอยู่ใน[[Erethizontidae|วงศ์เม่นโลกใหม่]] (Erethizontidae)
| image_caption =
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
| phylum = [[Chordata]]
บรรทัด 13: บรรทัด 10:
| ordo = [[Rodentia]]
| ordo = [[Rodentia]]
| subordo = [[Hystricomorpha]]
| subordo = [[Hystricomorpha]]
| subordo_authority = Brandt, [[ค.ศ. 1855|1855]]
| infraordo = [[Hystricognatha]]
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]และ[[genus|สกุล]]
| subdivision = <center>ดูในเนื้อหา</center>
}}
}}


'''เม่น''' ({{lang-en|Porcupine}}, [[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับย่อย]]: Hystricomorpha) เป็นอันดับย่อยของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] ใน[[อันดับสัตว์ฟันแทะ]] (Rodentia) ใช้[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า Hystricomorpha
'''เม่น''' '' ({{lang-en|Porcupine}}) '' จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]


โดยสัตว์ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของอันดับย่อยนี้ คือ [[เม่น]] ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางค่อนข้างไปทางใหญ่ ที่มีจุดเด่น คือ ขนบนตัวที่เป็นหนามแหลม ใช้สำหรับป้องกันตัว กระจายพันธุ์ไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วทั้งโลก คือ [[ทวีปเอเชีย]], [[แอฟริกา]], [[อเมริกาเหนือ]]และ[[อเมริกาใต้]] ซึ่งสามารถแบ่งออกได้อีกเป็น 2 [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]
== ดูเพิ่ม ==

* [[เฮดจ์ฮอก]]
เม่น เป็นสัตว์ที่มี[[ความเชื่อ]]ว่าสามารถสะบัดขนเข้าใส่ศัตรูได้แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น เมื่อเม่นพบศัตรูจะรีบหันหลังให้แล้ววิ่งหนีไปพร้อมทั้งสั่นขนให้เกิดเสียงดังกราว ๆ เป็นการเตือน ไม่ให้ศัตรูเข้าใกล้ แต่ถ้าศัตรูยังวิ่งไล่อยู่เม่นจะรีบหยุดทันที พร้อมทั้งพองขนให้ตั้งชัน และวิ่งถอยหลังเข้าหา ศัตรูที่วิ่งตามไม่สามารถจะหยุดได้ทันจึงถูกขนเม่นทิ่มตำ ขนเม่นจะหลุดจากตัวเม่นได้ง่ายมาก มักจะติดไปกับสัตว์ที่เข้ามาทำอันตรายเสมอและอาจทำให้ศัตรูเสียชีวิตได้ ในอดีต พรานป่าที่เข้าไปล่าสัตว์มักจะนำ[[สุนัข]]ไปด้วยเพื่อช่วยดมกลิ่นและค้นหาสัตว์ป่าถ้าพบเห็นเม่นมันจะวิ่งไล่ทันที เมื่อเม่นหยุดวิ่ง สุนัขจะวิ่งชนเม่นทันทีจึงมักได้รับบาดเจ็บและมีขนเม่นติดตามตัว เมื่อเจ้าของสุนัขพบเข้าจึงคิดว่าเม่นสะบัดขนเข้าใส่ ทำให้เกิดความเชื่อผิด ๆ ตามกันมา

สำหรับใน[[ประเทศไทย]] พบเม่นได้ 2 ชนิด คือ [[เม่นใหญ่แผงคอยาว]] (''Hystrix brachyura'') และ[[Atherurus macrourus|เม่นหางพวง]] (''Atherurus macrourus'') ซึ่งทั้งหมดจัดอยู่ใน [[Hystricidae|วงศ์เม่นโลกเก่า]] <ref>[http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=10073 เม่น]</ref>(Hystricidae)

==การจำแนก==
สำหรับสัตว์ที่ได้ชื่อว่า เม่น จะมีอยู่ด้วยกัน 2 วงศ์ คือ

*[[Hystricidae|วงศ์เม่นโลกเก่า]] (Hystricidae) เป็นเม่นขนาดใหญ่ มีหนามแหลม พบในซีก[[โลกเก่า]] คือ เอเชียและแอฟริกา มีทั้งหมด 3 [[genus|สกุล]] คือ
**''[[Atherurus]]''
**''[[Hystrix]]''
**''[[Trichys]]''

*[[Erethizontidae|วงศ์เม่นโลกใหม่]] (Erethizontidae) เป็นเม่นที่มีขนาดย่อมลงมา พบในซีก[[โลกใหม่]] คือ อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ มีทั้งหมด 4 สกุล คือ
**''[[Coendou]]''
**''[[Sphiggurus]]''
**''[[Erethizon]]''
**''[[Echinoprocta]]''
**''[[Chaetomys]]''

นอกจากนี้แล้ว ยังมีสัตว์ฟันแทะที่อยู่ในวงศ์อื่นอีก ที่ไม่มีหนามแหลมแบบเม่น แต่ก็ถูกจัดอยู่ในวงศ์ย่อยนี้ ได้แก่

*[[Thryonomyidae|วงศ์หนูเคน]] (Thryonomyidae)
*[[Petromuridae|วงศ์หนูดาสซี่]] (Petromuridae)
*[[Bathyergidae|วงศ์หนูตุ่นแอฟริกัน]] (Bathyergidae)
*[[Hydrochaeridae|วงศ์คาปิบารา]] (Hydrochaeridae)
*[[Caviidae|วงศ์หนูตะเภา]] (Caviidae)
*[[Dasyproctidae|วงศ์อคูติ]] (Dasyproctidae)
*[[Chinchillidae|วงศ์ชินชิล่า]] (Chinchillidae)
*[[Ctenomyidae|วงศ์ทูโคทูคอส]] (Ctenomyidae)
*[[นากหญ้า|วงศ์นากหญ้า]] (Myocastoridae)
*[[Octodontidae|วงศ์ออกโทดอน]] (Octodontidae)
*[[Ctenodactylidae|วงศ์กุนดี]] (Ctenodactylidae)<ref>Buffenstein, Rochelle; Jarvis, Jennifer U. M. (May 2002). "The naked mole rat--a new record for the oldest living rodent". ''Science of aging knowledge environment 2002 (21)'': pe7. doi:10.1126/sageke.2002.21.pe7. PMID 14602989.</ref> <ref> Parker, SB (1990) Grzimek's Encyclopedia of Mammals, vol. 4, McGraw-Hill, New York</ref>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|ม่เน}}
{{เรียงลำดับ|ม่เน}}
[[หมวดหมู่:สัตว์]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ฟันแทะ]]

[[หมวดหมู่:สัตว์มีแกนสันหลัง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]

{{โครงสัตว์}}


[[br:Hoc'h-dreinek]]
[[br:Hoc'h-dreinek]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:43, 30 มีนาคม 2555

อันดับย่อยเม่น
เม่นต้นไม้ หรือ เม่นบราซิล (Coendou prehensilis) จัดอยู่ในวงศ์เม่นโลกใหม่ (Erethizontidae)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Rodentia
อันดับย่อย: Hystricomorpha
Brandt, 1855
อันดับฐาน: Hystricognatha
วงศ์และสกุล
ดูในเนื้อหา

เม่น (อังกฤษ: Porcupine, อันดับย่อย: Hystricomorpha) เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hystricomorpha

โดยสัตว์ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีของอันดับย่อยนี้ คือ เม่น ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางค่อนข้างไปทางใหญ่ ที่มีจุดเด่น คือ ขนบนตัวที่เป็นหนามแหลม ใช้สำหรับป้องกันตัว กระจายพันธุ์ไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วทั้งโลก คือ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา, อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้อีกเป็น 2 วงศ์

เม่น เป็นสัตว์ที่มีความเชื่อว่าสามารถสะบัดขนเข้าใส่ศัตรูได้แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น เมื่อเม่นพบศัตรูจะรีบหันหลังให้แล้ววิ่งหนีไปพร้อมทั้งสั่นขนให้เกิดเสียงดังกราว ๆ เป็นการเตือน ไม่ให้ศัตรูเข้าใกล้ แต่ถ้าศัตรูยังวิ่งไล่อยู่เม่นจะรีบหยุดทันที พร้อมทั้งพองขนให้ตั้งชัน และวิ่งถอยหลังเข้าหา ศัตรูที่วิ่งตามไม่สามารถจะหยุดได้ทันจึงถูกขนเม่นทิ่มตำ ขนเม่นจะหลุดจากตัวเม่นได้ง่ายมาก มักจะติดไปกับสัตว์ที่เข้ามาทำอันตรายเสมอและอาจทำให้ศัตรูเสียชีวิตได้ ในอดีต พรานป่าที่เข้าไปล่าสัตว์มักจะนำสุนัขไปด้วยเพื่อช่วยดมกลิ่นและค้นหาสัตว์ป่าถ้าพบเห็นเม่นมันจะวิ่งไล่ทันที เมื่อเม่นหยุดวิ่ง สุนัขจะวิ่งชนเม่นทันทีจึงมักได้รับบาดเจ็บและมีขนเม่นติดตามตัว เมื่อเจ้าของสุนัขพบเข้าจึงคิดว่าเม่นสะบัดขนเข้าใส่ ทำให้เกิดความเชื่อผิด ๆ ตามกันมา

สำหรับในประเทศไทย พบเม่นได้ 2 ชนิด คือ เม่นใหญ่แผงคอยาว (Hystrix brachyura) และเม่นหางพวง (Atherurus macrourus) ซึ่งทั้งหมดจัดอยู่ใน วงศ์เม่นโลกเก่า [1](Hystricidae)

การจำแนก

สำหรับสัตว์ที่ได้ชื่อว่า เม่น จะมีอยู่ด้วยกัน 2 วงศ์ คือ

นอกจากนี้แล้ว ยังมีสัตว์ฟันแทะที่อยู่ในวงศ์อื่นอีก ที่ไม่มีหนามแหลมแบบเม่น แต่ก็ถูกจัดอยู่ในวงศ์ย่อยนี้ ได้แก่

อ้างอิง

  1. เม่น
  2. Buffenstein, Rochelle; Jarvis, Jennifer U. M. (May 2002). "The naked mole rat--a new record for the oldest living rodent". Science of aging knowledge environment 2002 (21): pe7. doi:10.1126/sageke.2002.21.pe7. PMID 14602989.
  3. Parker, SB (1990) Grzimek's Encyclopedia of Mammals, vol. 4, McGraw-Hill, New York