ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอภาพพลาสมา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Plasma display.jpg|thumb|right|ตัวอย่างจอภาพพลาสมา]]
[[ไฟล์:Plasma display.jpg|thumb|right|ตัวอย่างจอภาพพลาสมา]]


''จอภาพพลาสมา''' ({{lang-en|plasma display}}) คือ[[จอภาพ]]ที่ประกอบขึ้นจากแผ่นแก้วสองชุดวางชิดกัน ช่องว่างนี้จะถูกแบ่งออกเป็นเซลล์แสงกว้าง 100-200 ไมครอน มีชั้นผนัง (rib) กั้นไว้ โดยใช้[[ขั้วไฟฟ้า]]ในแนวกระจกคอยควบคุมตำแหน่งของเซลล์เหล่านั้น แต่ละเซลล์จะบรรจุก๊าซที่ผสมระหว่าง[[ก๊าซซีนอน]]และ[[ก๊าซเฉื่อย]]อื่นๆ กลไกการทำงานของจอภาพพลาสมา จะมีการเรืองแสงขึ้นเองเหมือนการทำงานของ[[หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์]] กล่าวคือ ก๊าซในเซลล์เหล่านี้เมื่อถูกกระตุ้นด้วย[[แรงดันไฟฟ้า]]จะเกิดการ[[ไอออนไนซ์]]ขึ้นทำให้ก๊าซแตก[[ประจุ]]และปล่อยแสง[[อุลตราไวโอเล็ต]]ออกมา สารเรื่องแสงจะดูดซับอุลตราไวโอเล็ตและสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทำให้เรามองเห็นเป็นภาพได้
'''จอภาพพลาสมา''' ({{lang-en|plasma display}}) คือ[[จอภาพ]]ที่ประกอบขึ้นจากแผ่นแก้วสองชุดวางชิดกัน ช่องว่างนี้จะถูกแบ่งออกเป็นเซลล์แสงกว้าง 100-200 ไมครอน มีชั้นผนัง (rib) กั้นไว้ โดยใช้[[ขั้วไฟฟ้า]]ในแนวกระจกคอยควบคุมตำแหน่งของเซลล์เหล่านั้น แต่ละเซลล์จะบรรจุก๊าซที่ผสมระหว่าง[[ก๊าซซีนอน]]และ[[ก๊าซเฉื่อย]]อื่นๆ กลไกการทำงานของจอภาพพลาสมา จะมีการเรืองแสงขึ้นเองเหมือนการทำงานของ[[หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์]] กล่าวคือ ก๊าซในเซลล์เหล่านี้เมื่อถูกกระตุ้นด้วย[[แรงดันไฟฟ้า]]จะเกิดการ[[ไอออนไนซ์]]ขึ้นทำให้ก๊าซแตก[[ประจุ]]และปล่อยแสง[[อุลตราไวโอเล็ต]]ออกมา สารเรื่องแสงจะดูดซับอุลตราไวโอเล็ตและสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทำให้เรามองเห็นเป็นภาพได้


หัวใจของเทคโนโลยีจอภาพพลาสมาจึงอยู่ที่พลาสมาทุกหน่วยที่มาประกอบ เซลล์แสงภายในแผ่นแก้วของจอภาพพลาสมา จะแยกอิสระแต่ทำงานร่วมกัน โดยมี Pure Vision Cell Size ที่อยู่ 0.286 X 0.808 มม.
หัวใจของเทคโนโลยีจอภาพพลาสมาจึงอยู่ที่พลาสมาทุกหน่วยที่มาประกอบ เซลล์แสงภายในแผ่นแก้วของจอภาพพลาสมา จะแยกอิสระแต่ทำงานร่วมกัน โดยมี Pure Vision Cell Size ที่อยู่ 0.286 X 0.808 มม.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:41, 25 มีนาคม 2555

ตัวอย่างจอภาพพลาสมา

จอภาพพลาสมา (อังกฤษ: plasma display) คือจอภาพที่ประกอบขึ้นจากแผ่นแก้วสองชุดวางชิดกัน ช่องว่างนี้จะถูกแบ่งออกเป็นเซลล์แสงกว้าง 100-200 ไมครอน มีชั้นผนัง (rib) กั้นไว้ โดยใช้ขั้วไฟฟ้าในแนวกระจกคอยควบคุมตำแหน่งของเซลล์เหล่านั้น แต่ละเซลล์จะบรรจุก๊าซที่ผสมระหว่างก๊าซซีนอนและก๊าซเฉื่อยอื่นๆ กลไกการทำงานของจอภาพพลาสมา จะมีการเรืองแสงขึ้นเองเหมือนการทำงานของหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ กล่าวคือ ก๊าซในเซลล์เหล่านี้เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแรงดันไฟฟ้าจะเกิดการไอออนไนซ์ขึ้นทำให้ก๊าซแตกประจุและปล่อยแสงอุลตราไวโอเล็ตออกมา สารเรื่องแสงจะดูดซับอุลตราไวโอเล็ตและสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทำให้เรามองเห็นเป็นภาพได้

หัวใจของเทคโนโลยีจอภาพพลาสมาจึงอยู่ที่พลาสมาทุกหน่วยที่มาประกอบ เซลล์แสงภายในแผ่นแก้วของจอภาพพลาสมา จะแยกอิสระแต่ทำงานร่วมกัน โดยมี Pure Vision Cell Size ที่อยู่ 0.286 X 0.808 มม.

ในจอภาพพลาสมาแบบสี ภาพจะถูกสร้างขึ้นจากจุดหลายๆ จุด แต่ละจุดเรียกว่า พิกเซล แต่ละพิกเซลจะประกอบขึ้นจากเซลล์สี 3 เซลล์คือ แดง เขียว น้ำเงิน ดังนั้นความแตกต่างพื้นฐานประการหนึ่งระหว่างจอภาพพลาสมากับ CRT เช่นโทรทัศน์ธรรมดาทั่วไป จึงอยู่ตรงที่ จอภาพพลาสมา (รวมทั้งจอภาพผลึกเหลว) จะดูค่าความละเอียดที่จำนวนพิกเซล ขณะที่ CRT จะดูที่ความเร็วในการสแกนภาพ

ยังมีความแตกต่างอีกหลายประการที่ทำให้จอภาพพลาสมาโดดเด่นกว่าจอภาพ CRT เช่น ขนาดที่สามารถผลิตได้ใหญ่กว่า ความละเอียดของคุณภาพสูงกว่า คุณภาพในแง่ต่างๆ ของภาพดีกว่า รวมไปถึงนำหนักที่เบากว่า และปลอดจากการรบกวนของคลื่นแม่เหล็ก เป็นต้น

ปัจจุบัน จอภาพพลาสมาสามารถผลิตได้ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก 103 นิ้ว ส่งสัญญาณภาพด้วยระบบ Full High Definition แสดงภาพได้ 1080p ผลิตโดยบริษัท มัตสุซิตะ อิเล็คทริค อินดัสเตรียล จำกัด (Panasonic) ในประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นโรงงานที่ผลิตจอภาพพลาสมา ที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย

ดูเพิ่ม