ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร"

พิกัด: 13°44′58″N 100°29′29″E / 13.749359°N 100.4913°E / 13.749359; 100.4913
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lsd.architecture (คุย | ส่วนร่วม)
ผ.ศ. สุรชัย ชลประเสริฐ เป็นผู้ออกแบบตกแต่งภายในเป็นหลัก
Lsd.architecture (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
แต่เดิมในการพระราชทานจัดเลี้ยงประมุขต่างประเทศ จะใช้พื้นที่ท้องพระโรงกลางพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ[[พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์]] เนื่องจากพื้นที่จำกัดทำให้ต้องแยกผู้รับพระราชทานเลี้ยงเป็นสองส่วน ซึ่งไม่เหมาะสม จึงทรงพระราชดำริให้สร้างพระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นมา
แต่เดิมในการพระราชทานจัดเลี้ยงประมุขต่างประเทศ จะใช้พื้นที่ท้องพระโรงกลางพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ[[พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์]] เนื่องจากพื้นที่จำกัดทำให้ต้องแยกผู้รับพระราชทานเลี้ยงเป็นสองส่วน ซึ่งไม่เหมาะสม จึงทรงพระราชดำริให้สร้างพระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นมา


การก่อสร้างพระที่นั่งบรมราชสถิตมโหฬาร ใช้งบประมาณจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และค่าเข้าชมพระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แต่เดิมออกแบบร่างโดย [[ม.ร.ว. มิตรารุณ เกษมศรี]] หลังจากนั้นบริษัท MLTD & Associates Architects and Planners ได้ทำการออกแบบต่อโดย [[ม.ร.ว. มิตรารุณ เกษมศรี]] ยังคงให้คำปรึกษาต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงแก่อสัญกรรม การก่อสร้างดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปี แต่หยุดชะงักไปในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2541 ภายหลังจากการก่อสร้างฐานราก และชั้นใต้ดิน 2 ชั้นแล้วเสร็จ เริ่มก่อสร้างต่อเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 เพื่อใช้ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 โดย ผศ.สุรชัย ชลประเสริฐ เป็นผู้ออกแบบตกแต่งภายใน รัฐบาลได้ถวายการสนับสนุนด้านงบประมาณ เพื่อการก่อสร้างและตกแต่ง พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร (พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ส่วนต่อเติม) จากงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 2549 งบกลาง รายการเงินสำรองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น สำหรับรายการตกแต่งพระที่นั่งฯ ในวงเงิน 500 ล้านบาท ซึ่งสำนักพระราชวังได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ในการที่รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายการสนับสนุนงบประมาณดังกล่าวแล้ว ซึ่งนับว่าเป็นพระที่นั่งแห่งแรกที่มีการจัดสร้างในรัชกาลปัจจุบัน
การก่อสร้างพระที่นั่งบรมราชสถิตมโหฬาร ใช้งบประมาณจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และค่าเข้าชมพระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แต่เดิมออกแบบร่างโดย [[หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี]] หลังจากนั้นบริษัท MLTD & Associates Architects and Planners ได้ทำการออกแบบต่อโดย [[หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี]] ยังคงให้คำปรึกษาต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงแก่อสัญกรรม การก่อสร้างดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปี แต่หยุดชะงักไปในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2541 ภายหลังจากการก่อสร้างฐานราก และชั้นใต้ดิน 2 ชั้นแล้วเสร็จ เริ่มก่อสร้างต่อเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 เพื่อใช้ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 โดย ผศ.สุรชัย ชลประเสริฐ เป็นผู้ออกแบบตกแต่งภายใน รัฐบาลได้ถวายการสนับสนุนด้านงบประมาณ เพื่อการก่อสร้างและตกแต่ง พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร (พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ส่วนต่อเติม) จากงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 2549 งบกลาง รายการเงินสำรองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น สำหรับรายการตกแต่งพระที่นั่งฯ ในวงเงิน 500 ล้านบาท ซึ่งสำนักพระราชวังได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ในการที่รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายการสนับสนุนงบประมาณดังกล่าวแล้ว ซึ่งนับว่าเป็นพระที่นั่งแห่งแรกที่มีการจัดสร้างในรัชกาลปัจจุบัน


ชื่อพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารนี้ เดิมเป็นชื่อพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชมณเฑียรสถานหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท อยู่ทางทิศใต้ของพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ และพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ เป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]และใช้เป็นสถานที่รับรองแขกต่าง ๆ ของพระองค์ แต่ถูกรื้อออกไปแล้ว
ชื่อพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารนี้ เดิมเป็นชื่อพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชมณเฑียรสถานหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท อยู่ทางทิศใต้ของพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ และพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ เป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]และใช้เป็นสถานที่รับรองแขกต่าง ๆ ของพระองค์ แต่ถูกรื้อออกไปแล้ว

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:36, 15 มีนาคม 2555

พระที่นั่งองค์เดิม ก่อนถูกทุบทิ้ง
ไฟล์:BoromRajaSatitjaMaholarn Hall.jpg
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร

พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร เป็นพระที่นั่งองค์ใหม่ในพระบรมมหาราชวัง เป็นส่วนต่อเติมพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทเข้าไปในเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานที่จัดเลี้ยง โดยงานแรกที่ใช้พระที่นั่งองค์นี้คือ งานถวายเลี้ยงพระกระยาหารค่ำ แด่สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินีต่างประเทศ เนื่องในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 ในวันอังคารที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2549

แต่เดิมในการพระราชทานจัดเลี้ยงประมุขต่างประเทศ จะใช้พื้นที่ท้องพระโรงกลางพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ เนื่องจากพื้นที่จำกัดทำให้ต้องแยกผู้รับพระราชทานเลี้ยงเป็นสองส่วน ซึ่งไม่เหมาะสม จึงทรงพระราชดำริให้สร้างพระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นมา

การก่อสร้างพระที่นั่งบรมราชสถิตมโหฬาร ใช้งบประมาณจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และค่าเข้าชมพระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แต่เดิมออกแบบร่างโดย หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี หลังจากนั้นบริษัท MLTD & Associates Architects and Planners ได้ทำการออกแบบต่อโดย หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี ยังคงให้คำปรึกษาต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงแก่อสัญกรรม การก่อสร้างดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปี แต่หยุดชะงักไปในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2541 ภายหลังจากการก่อสร้างฐานราก และชั้นใต้ดิน 2 ชั้นแล้วเสร็จ เริ่มก่อสร้างต่อเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 เพื่อใช้ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 โดย ผศ.สุรชัย ชลประเสริฐ เป็นผู้ออกแบบตกแต่งภายใน รัฐบาลได้ถวายการสนับสนุนด้านงบประมาณ เพื่อการก่อสร้างและตกแต่ง พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร (พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ส่วนต่อเติม) จากงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 2549 งบกลาง รายการเงินสำรองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น สำหรับรายการตกแต่งพระที่นั่งฯ ในวงเงิน 500 ล้านบาท ซึ่งสำนักพระราชวังได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ในการที่รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายการสนับสนุนงบประมาณดังกล่าวแล้ว ซึ่งนับว่าเป็นพระที่นั่งแห่งแรกที่มีการจัดสร้างในรัชกาลปัจจุบัน

ชื่อพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารนี้ เดิมเป็นชื่อพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชมณเฑียรสถานหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท อยู่ทางทิศใต้ของพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ และพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและใช้เป็นสถานที่รับรองแขกต่าง ๆ ของพระองค์ แต่ถูกรื้อออกไปแล้ว

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′58″N 100°29′29″E / 13.749359°N 100.4913°E / 13.749359; 100.4913