ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สันติอโศก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ใช่วัด และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่ใช่วัดพุทธ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}


'''สันติอโศก''' (Santi Asoke Temple) เป็นพุทธสถาน ตั้งอยู่ที่เลขที่ 65/1 ซอยนวมินทร์ 46 (ซ.เทียมพร) [[ถนนนวมินทร์]] แขวงคลองกุ่ม [[เขตบึงกุ่ม]] กทม.
'''อาศรมสันติอโศก''' เป็นสำนักหลักของลัทธิอโศกอัน[[สมณะโพธิรักษ์]]ก่อตั้งขึ้น และตั้งอยู่ที่เลขที่ 65/1 ซอยนวมินทร์ 46 (ซ.เทียมพร) [[ถนนนวมินทร์]] แขวงคลองกุ่ม [[เขตบึงกุ่ม]] กรุงเทพมหานคร


[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราช|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก]] ในฐานะประธานมหาเถรสมาคม ได้มีคำสั่งให้สมณะโพธิรักษ์สละสมณเพศ เนื่องจากพบว่ากระทำผิดพระธรรมวินัยอย่างต่อเนื่อง สมณะโพธิรักษ์จึงประกาศแยกตัวไม่อยู่ในอาณัติคณะสงฆ์ไทย และได้ไปตั้ง (1) อาศรมสันติอโศก ที่แขวงคลองกุ่ม เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร, (2) อาศรมศรีสะอโศก ที่ตำบลกระแชงใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ, (3) อาศรมศาลาอโศก ที่ตำบลโคกเดื่อ อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ และ (4) อาศรมปฐมอโศก ที่ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม อาศรมทั้งสี่ดังกล่าวมีโบสถ์ ศาลา กุฏิเหมือนวัดไทยทั่วไป
== ประวัติ ==
สันติอโศก ก่อตั้งโดย [[สมณะโพธิรักษ์]] (นายรัก รักพงษ์) ซึ่งเคยบวชเป็นพระภิกษุในคณะ[[ธรรมยุติ]] แต่ไม่เห็นด้วยระเบียบ กฎเกณฑ์ของวัด จึงได้บวชใหม่เป็นพระสังกัดคณะ[[มหานิกาย]] ได้นามว่า '''โพธิรักษ์'''


สำนักสันติอโศกรับบวชบุคคลให้เป็นบรรพชิตตามระเบียบที่สมณะโพธิรักษ์ตั้งขึ้น เรีกยว่า "กฎระเบียบของชาวอโศก" ขั้นตอนการบวชของชาวอโศก หากเป็นชาย ต้องเข้าปฏิบัติธรรมที่สำนักสันติอโศก โดยเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "นาค" จากนั้นบวชเป็น "สามเณร" และ "ภิกษุ" และมีการแต่งกายเช่นเดียวกับภิกษุสามเณรของคณะสงฆ์ไทย ส่วนผู้หญิงเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "กรัก" จากนั้น บวชเป็น "สิกขมาต" แต่งกายด้วยเสื้อแขนกระบอก มีผ้าสีกรักคลุมทับ
พ.ศ. 2516 สมณะโพธิรักษ์ได้ประกาศตั้ง '''ธรรมสถานแดนอโศก'''{{อ้างอิง}} เป็นสำนักสงฆ์ขึ้นอยู่กับวัดหนองกระทุ่ม ต.ทุ่งลูกนก อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม และเรียกกลุ่มของตัวเองว่า คณะสงฆ์ชาวอโศก ซึ่งมีจำนวน 21 รูป วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2518 ได้ประกาศขอแยกตัวออกจากการปกครองของคณะสงฆ์ ไม่อยู่ภายใต้กฏระเบียบและการปกครองของ[[มหาเถรสมาคม]]ทำการปกครองตนเอง โดยอาศัยพระธรรมวินัยเป็นหลัก
สันติอโศกมี 9 เครือข่ายอโศก ได้แก่ ปฐมอโศก, ศีรษะอโศก ,ราชธานีอโศก, ภูผาฟ้าน้ำ, สีมาอโศก , หินผาฟ้าน้ำ และ ทะเลธรรมอโศก มีศูนย์รวมที่พุทธสถานสันติอโศก [[เขตบึงกุ่ม]] กรุงเทพฯ (ก่อตั้งเมื่อ 7 ส.ค. 2519)


เนื่องจากการบวชของชาวอโศกมิชอบด้วยกฎหมายและพระธรรมวินัย ในเดือนมิถุนายน 2532 [[พิศาล มูลศาสตร์สาทร]] ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น จึงสั่งให้จับกุมรักษ์และพวกทั้งหมด รวม 105 คน ในวันที่ 8 สิงหาคม 2532 พนักงานสอบสวนจับกุม แจ้งข้อหา และสอบสวนแล้ว พนักงานอัยการได้ฟ้องเป็นจำเลยจำนวน 80 คดี ศาลแขวงพระนครเหนือพิพากษาว่า จำเลยที่ 1-79 มีความผิดเกี่ยวกับศาสนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80 (ไม่ใช่ภิกษุสงฆ์ บังอาจแต่งกายอย่างภิกษุสงฆ์ เพื่อล่อลวงให้คนอื่นเชื่อว่าเป็นภิกษุสงฆ์) และให้จำคุกคนละ 3 เดือน ส่วนจำเลยที่ 80 คือ รักษ์ สนับสนุนให้จำเลยที่คนอื่น ๆ กระทำผิดดังกล่าวจำนวน 33 กระทง พิพากษาลงโทษจำคุกเรียงกระทง กระทงละ 2 เดือน รวมเป็นจำคุก 66 เดือน ศาลอุทธรณ์ยกฟ้องจำเลยบางคน โทษจำเลยที่ 80 จึงลดลงเป็นจำคุก 54 เดือน และศาลฎีกาพิพากษายืน โดยศาลฎีกาวินิจฉัยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2541 ว่า
ปัจจุบันเรียกตนเองว่า สมณะ เพื่อแตกต่างจากคำว่า พระ เนื่องด้วยผลคำตัดสินของศาล{{อ้างอิง}}


<blockquote>"จำเลยที่ 80 ได้บวชเป็นพระภิกษุในฝ่ายธรรมยุตนิกาย...และ...ได้สวดญัตติเข้าเป็นพระภิกษุในฝ่ายมหานิกาย แสดงว่า จำเลยที่ 80 ได้ยอมรับที่จะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และกฎมหาเถรสมาคมมาก่อน และในช่วงเวลาดังกล่าว จำเลยที่ 80 ก็สามารถปฏิบัติธรรมได้ ไม่ปรากฏว่า จำเลยทุกคนถูกกลั่นแกล้งจากใครอย่างไรและถึงขนาดไม่อาจปฏิบัติตามพระธรรมวินัยได้ เมื่อได้วินิจฉัยแล้วว่า...ไม่ปรากฏบทบัญญัติมาตราใดให้สิทธิพระภิกษุสงฆ์ไทยประกาศแยกตนให้มีผลประดุจสังฆเภทไม่ยอมอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ได้ การประกาศของจำเลยที่ 80 กับพวกดังกล่าวจึงไม่ทำให้จำเลยที่ 80 กับพวกพ้นจากการปกครองของมหาเถรสมาคมและไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 การที่ภิกษุสงฆ์นักบวชไม่อนุวัตปฏิบัติตามกฎหมายกลับมีผลเป็นการก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นดังเช่นที่ปรากฏในคดีนี้"</blockquote>
== หลักปฏิบัติ ==

'''หลังประกาศเจตจำนง'''แยกตัวออกจากการปกครองของคณะสงฆ์ ชาวอโศกแทบจะไม่มีเวลาพักหายใจหรือมีเวลาชื่นชมตนเองที่กล้าท้าทายกับศาสนาจักรอันยิ่งใหญ่ ตรงกันข้าม พวกเขาเริ่มต้นการสร้างคณะสงฆ์ของตนเองอย่างเอาจริงเอาจัง ซึ่งนั่นอาจเป็นเพราะพวกเขารู้ว่า วันหนึ่งวันใดข้างหน้าในไม่ช้า พวกเขาจะต้องรับศึกหนักจากคณะผู้ปกครองคณะสงฆ์ และเมื่วันนั้นมาถึง พวกเขาควรจะต้องเข้มแข็งมากกว่านี้

'''วิถีทางที่เข้มงวด'''ของสมณะและสิกขมาตุชาวอโศกแตกต่างจากคณะสงฆ์เดิมอย่างเด่นชัด นอกจาก'''การนุ่งห่มจีวรสีกรัก การไม่โกนคิ้ว''' ยังรวมถึงหลักปฏิบัติหรือการถือศีลที่เคร่งครัด ซึ่งนอกจากศีล 227 ข้อ ของสงฆ์ทั่วไปแล้ว ยังรวมไปถึงการเป็น'''พระมังสวิรัติ''' ไม่บริโภคเนื้อสัตว์ และ'''บริโภควันละ 1 มื้อ''' ละเว้นสิ่งเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง'''บุหรี่ หมากพลู ยานัตถุ์ ไม่สวมรองเท้า ไม่รับเงินทองไว้ใช้ส่วนตัว''' นอกจากนี้ยังรวมถึงการปฏิเสธพิธีกรรมหลายอย่าง เช่น การรดน้ำมนต์ ไม่ทำเครื่องรางของขลัง ตามพระธรรมนูญของพุทธ คือ '''จุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล''' ด้วย ('''สันติอโศก สามทศวรรษที่ท้าทาย''' โดย '''สุรเธียร จักรธรานนท์ ''' สำนักพิมพ์มติชน พฤษภาคม 2550)

== คดีความ ==
{{บทความหลัก|สมณะโพธิรักษ์}}
เมื่อวันที่ [[10 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2532]] ที่ประชุม[[มหาเถรสมาคม]] มีมติเอกฉันท์ ขอให้[[สมเด็จพระสังฆราช]] ในฐานะประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ทรงลงพระนามในพระบัญชาให้สึกพระโพธิรักษ์จากสมณเพศ แต่พระโพธิรักษ์ไม่ยอมเปล่งวาจาสึก จึงเพียงให้เปลี่ยนชุดเป็นสีขาว และถูกฟ้องพร้อมกับสมณะและสิกขมาตุข้อหาแต่งกายเลียนแบบพระ ศาลแขวงพระนครเหนือ มีคำพิพากษาเมื่อ [[29 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2538]] หลังสืบพยานนานถึง 6 ปีเต็ม ให้จำเลยทั้งหมดมีความผิดตามโจทก์ฟ้อง จำคุกโพธิรักษ์ รวม 66 เดือน แต่ให้รอลงอาญา 2 ปี บุคคลอื่นๆ ก็รอลงอาญาเช่นกัน ทั้งหมดยื่นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ยืนตามชั้นต้น ศาลฎีกาพิพากษา [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2541]] ให้ยืนตามศาลอุทธรณ์ สมณะโพธิรักษ์แพ้คดี มีคำสั่งรอลงอาญา 2 ปีพร้อมคุมประพฤติ

== บทบาทในการเมืองไทย ==
{{โครงส่วน}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:41, 14 มีนาคม 2555

อาศรมสันติอโศก เป็นสำนักหลักของลัทธิอโศกอันสมณะโพธิรักษ์ก่อตั้งขึ้น และตั้งอยู่ที่เลขที่ 65/1 ซอยนวมินทร์ 46 (ซ.เทียมพร) ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ในฐานะประธานมหาเถรสมาคม ได้มีคำสั่งให้สมณะโพธิรักษ์สละสมณเพศ เนื่องจากพบว่ากระทำผิดพระธรรมวินัยอย่างต่อเนื่อง สมณะโพธิรักษ์จึงประกาศแยกตัวไม่อยู่ในอาณัติคณะสงฆ์ไทย และได้ไปตั้ง (1) อาศรมสันติอโศก ที่แขวงคลองกุ่ม เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร, (2) อาศรมศรีสะอโศก ที่ตำบลกระแชงใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ, (3) อาศรมศาลาอโศก ที่ตำบลโคกเดื่อ อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ และ (4) อาศรมปฐมอโศก ที่ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม อาศรมทั้งสี่ดังกล่าวมีโบสถ์ ศาลา กุฏิเหมือนวัดไทยทั่วไป

สำนักสันติอโศกรับบวชบุคคลให้เป็นบรรพชิตตามระเบียบที่สมณะโพธิรักษ์ตั้งขึ้น เรีกยว่า "กฎระเบียบของชาวอโศก" ขั้นตอนการบวชของชาวอโศก หากเป็นชาย ต้องเข้าปฏิบัติธรรมที่สำนักสันติอโศก โดยเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "นาค" จากนั้นบวชเป็น "สามเณร" และ "ภิกษุ" และมีการแต่งกายเช่นเดียวกับภิกษุสามเณรของคณะสงฆ์ไทย ส่วนผู้หญิงเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "กรัก" จากนั้น บวชเป็น "สิกขมาต" แต่งกายด้วยเสื้อแขนกระบอก มีผ้าสีกรักคลุมทับ

เนื่องจากการบวชของชาวอโศกมิชอบด้วยกฎหมายและพระธรรมวินัย ในเดือนมิถุนายน 2532 พิศาล มูลศาสตร์สาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น จึงสั่งให้จับกุมรักษ์และพวกทั้งหมด รวม 105 คน ในวันที่ 8 สิงหาคม 2532 พนักงานสอบสวนจับกุม แจ้งข้อหา และสอบสวนแล้ว พนักงานอัยการได้ฟ้องเป็นจำเลยจำนวน 80 คดี ศาลแขวงพระนครเหนือพิพากษาว่า จำเลยที่ 1-79 มีความผิดเกี่ยวกับศาสนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80 (ไม่ใช่ภิกษุสงฆ์ บังอาจแต่งกายอย่างภิกษุสงฆ์ เพื่อล่อลวงให้คนอื่นเชื่อว่าเป็นภิกษุสงฆ์) และให้จำคุกคนละ 3 เดือน ส่วนจำเลยที่ 80 คือ รักษ์ สนับสนุนให้จำเลยที่คนอื่น ๆ กระทำผิดดังกล่าวจำนวน 33 กระทง พิพากษาลงโทษจำคุกเรียงกระทง กระทงละ 2 เดือน รวมเป็นจำคุก 66 เดือน ศาลอุทธรณ์ยกฟ้องจำเลยบางคน โทษจำเลยที่ 80 จึงลดลงเป็นจำคุก 54 เดือน และศาลฎีกาพิพากษายืน โดยศาลฎีกาวินิจฉัยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2541 ว่า

"จำเลยที่ 80 ได้บวชเป็นพระภิกษุในฝ่ายธรรมยุตนิกาย...และ...ได้สวดญัตติเข้าเป็นพระภิกษุในฝ่ายมหานิกาย แสดงว่า จำเลยที่ 80 ได้ยอมรับที่จะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และกฎมหาเถรสมาคมมาก่อน และในช่วงเวลาดังกล่าว จำเลยที่ 80 ก็สามารถปฏิบัติธรรมได้ ไม่ปรากฏว่า จำเลยทุกคนถูกกลั่นแกล้งจากใครอย่างไรและถึงขนาดไม่อาจปฏิบัติตามพระธรรมวินัยได้ เมื่อได้วินิจฉัยแล้วว่า...ไม่ปรากฏบทบัญญัติมาตราใดให้สิทธิพระภิกษุสงฆ์ไทยประกาศแยกตนให้มีผลประดุจสังฆเภทไม่ยอมอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ได้ การประกาศของจำเลยที่ 80 กับพวกดังกล่าวจึงไม่ทำให้จำเลยที่ 80 กับพวกพ้นจากการปกครองของมหาเถรสมาคมและไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 การที่ภิกษุสงฆ์นักบวชไม่อนุวัตปฏิบัติตามกฎหมายกลับมีผลเป็นการก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นดังเช่นที่ปรากฏในคดีนี้"

อ้างอิง