ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาอูหลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Panyatham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panyatham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการวิกิลิงก์ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ข้อควรปรับปรุงของบทความ|ต้องการวิกิลิงก์=yes|ตรวจลิขสิทธิ์=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|สั้นมาก=yes}}
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
'''ชาอู่หลง''' เป็น[[ชา]]กึ่งหมัก ผ่านกระบวนการนวดเล็กน้อย ใช้เวลาไม่มากนัก มีกลิ่นหอม รสชาดชุ่มคอ ถ้าเป็นชาน้ำร้อนจะเห็นสีเขียวของใบชาอยู่ รสชาติจะจืดกว่าชาเขียว น้ำชามีสีแดงเข้ม หมักใบสดระหว่างผลิตบางส่วน
{{รวม|ชา}}

'''ชาอู่หลง''' เป็นชากึ่งหมัก ผ่านกระบวนการนวดเล็กน้อย ใช้เวลาไม่มากนัก มีกลิ่นหอม รสชาดชุ่มคอ ถ้าเป็นชาน้ำร้อนจะเห็นสีเขียวของใบชาอยู่ รสชาติจะจืดกว่าชาเขียว น้ำชามีสีแดงเข้ม หมักใบสดระหว่างผลิตบางส่วน
== กระบวนการผลิต ==
กระบวนการผลิต นำยอดชามาผึ่งแดดให้อุณหภูมิในยอดชาสูงขึ้น ทำให้เกิดกลิ่นหอม นำมาผึ่งในที่ร่ม พร้อมเขย่าเพื่อกระตุ้นให้ใบชาตื่นตัว เข้ากระบวนการเร่งการหมัก ทำให้น้ำชามีสีเข้มขึ้น
กระบวนการผลิต นำยอดชามาผึ่งแดดให้อุณหภูมิในยอดชาสูงขึ้น ทำให้เกิดกลิ่นหอม นำมาผึ่งในที่ร่ม พร้อมเขย่าเพื่อกระตุ้นให้ใบชาตื่นตัว เข้ากระบวนการเร่งการหมัก ทำให้น้ำชามีสีเข้มขึ้น


== ประโยชน์ ==
ประโยชน์ของใบชา น้ำชามีสาร tannin ช่วยสลายไขมันในลำไส้ใหญ่ ช่วยทำให้สดชื่น กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและหมุนเวียนโลหิต
ประโยชน์ของใบชา น้ำชามีสาร tannin ช่วยสลายไขมันในลำไส้ใหญ่ ช่วยทำให้สดชื่น กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและหมุนเวียนโลหิต

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:ชา]]
[[หมวดหมู่:ชา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:50, 27 กุมภาพันธ์ 2555

ชาอู่หลง เป็นชากึ่งหมัก ผ่านกระบวนการนวดเล็กน้อย ใช้เวลาไม่มากนัก มีกลิ่นหอม รสชาดชุ่มคอ ถ้าเป็นชาน้ำร้อนจะเห็นสีเขียวของใบชาอยู่ รสชาติจะจืดกว่าชาเขียว น้ำชามีสีแดงเข้ม หมักใบสดระหว่างผลิตบางส่วน

กระบวนการผลิต

กระบวนการผลิต นำยอดชามาผึ่งแดดให้อุณหภูมิในยอดชาสูงขึ้น ทำให้เกิดกลิ่นหอม นำมาผึ่งในที่ร่ม พร้อมเขย่าเพื่อกระตุ้นให้ใบชาตื่นตัว เข้ากระบวนการเร่งการหมัก ทำให้น้ำชามีสีเข้มขึ้น

ประโยชน์

ประโยชน์ของใบชา น้ำชามีสาร tannin ช่วยสลายไขมันในลำไส้ใหญ่ ช่วยทำให้สดชื่น กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและหมุนเวียนโลหิต

อ้างอิง