ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mathonius (คุย | ส่วนร่วม)
revert
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ข้อความตัวหนา'''<gallery>
</gallery>
{{ทดลองเขียน}}
{{ทดลองเขียน}}
<!-- กรุณาอย่าแก้ไขบรรทัดนี้ ขอบคุณครับ/ค่ะ -- Please leave this line as they are. Thank you! -->
<!-- กรุณาอย่าแก้ไขบรรทัดนี้ ขอบคุณครับ/ค่ะ -- Please leave this line as they are. Thank you! -->
'''กิตติคุณ สารคล่อง'''
'''สิทธิพร ภาศภิรมย์'''


'''ประวัติ'''
'''จริต 6'''
ศาสตร์ในการอ่านใจมุษย์เป็นเทคนิคที่ลึกลับ ซับซ้อน จริงหรือ เมื่อจะอ่านใจมนุษย์ไม่เป็นเรื่องยากอย่างที่คิด แต่ต้องรู้วิธีก่อน การอ่านใจมนุษย์ต้องเรียนรู้จริต 6 แห่งมนุษญืเสียก่อนซึ่งมีมีธีการสังเกตุมนุษย์ ประเภท

1.ราคจริต
เกิดเมื่อ วันที่ 14 ธันวาคม 2528
2.โทสจริต
ที่ตำบลบละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร บิดา ชื่อนายประสิทธิ์ ภาศภิรมย์ มารดาชื่อ นางเสาวคนธ์ ภาศภิรมย์
3.โมหจริต
มีพี่น้อง 3 คน เป็นบุตรคนโต จบการศึกษาในระดับมัธยมปลาย โรงเรียนละแมวิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2547 เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
4.วิตกจริต
หลังจากจบการศึกษา ก็เข้ารับราชการทหารกองประจำการเป็นเวลา 1 ปี หลังจากปลดประจำการ ได้เข้าฝึกอบรมนักกฎหมายจิตอาสา(รุ้น 1) โดยสถาบันพัฒนานักกฎหมายและสิทธิมนุษยชน
5.ศรัทธ่จริต
ในขณะเดี่ยวกันก็เข้าฝึกอบรมวิชาว่าความ ณ. สำนักฝึกอบรมวิชาว่าความ และสามารถสอบผ่านได้ใบประกอบวิชาชีพทนายความ รุ้น 34 อาชีพปัจจุบัน '''ทนายความ'''
6.พุทธิจริต
วิธีการที่จะสังเกตลักษณะจริตของมนุษย์ สังเกตได้จาก อิริยาบท คือกริยาอาการ การนั่ง การนอน การยืน การเดินหนึ่ง จากกิจวัตร คืดการทำกิจวัตรประจำวัน กิจการงานการหนึ่ง จากโภชนะ คือนิสัยการรับประทาน ลักษณะรสชาติอารหารหนึ่ง จากทรรศนะ คือรสนิยมในผัสสะทั้ง 5หนึ่ง จากธรรม คือธรรมที่ยึดครองในจิตใจหนึ่ง จากลักษณะ คือจุดดี จุดเด่น และลักษณะที่เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่วหนึ่ง
เมื่อท่านต้องการที่จะทราบลักษณะของจริตมนุษย์ เพื่อที่จะอ่านใจมนุษย์ให้ล่วงรู้ลึกในก้นบึ้งของจิตใจ จงตั้งใจอ่านลักษณะจริตของนมุษย์ ซึ่งมีดังนี้เถิด จักเกิดประโยชน์ยิ่ง
1.จริต 6 หมายถึง ความประพฤติ กิริยาอาการที่แสดงออกมาให้เห็น หรือ ลักษณะนิสัยพื้นฐาน 6 ประการของมนุษย์ที่ประพฤติปฏิบัติเป็นอาจิณ อันเป็นพฤติกรรมตามสภาพสภาพของจิตที่ได้ท่องเที่ยวไป หรืออารมณ์ที่ชอบท่องเที่ยวของจิต ในบุคคลเดียวอาจไม่ได้มีจริตเดียว เป็นจริตผสม แต่จะมีจริตหนึ่งจริตใดที่ปรากฏโดดเด่นที่สุด จริตมี 6 ประเภทได้แก่ 1.ราคจริต 2.โทสจริต 3.โมหจริต 4.วิตกจริต 5.ศรัทธาจริต 6.พุทธิจริต พึงทราบจริตแห่งมนุษย์ทั้งหลาย โดยอาศัยการสังเกตจากอิริยาบถ กิจวัตร โภชนะ ทรรศนะ และลักษณะเฉพาะของบุคคล
2.ราคจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติตามราคะ คือ ความยินดี ความชอบใจ คนเช่นนี้มีอาการให้รักสวยรักงามทำอะไรก็มุ่งความสะอาด เกลียดสิ่งสกปรก เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะหมกมุ่นมัวเมาอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เห็นว่าสวยงามและเกลียดในสิ่งตรงกันข้าม พึงสังเกตบุคคลที่มีราคะจริตได้จากราคจริตอิริยาบถหนึ่ง ราคจริตกิจวัตรหนึ่ง ราคจริตโภชนะหนึ่ง ราคจริตทรรศนะหนึ่ง ราคจริตธรรมหนึ่ง และราคจริตลักษณะหนึ่ง
3.โทสจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามโทสะ คือ เป็นผู้มักโกรธแค้นขัดเคืองอยู่เสมอ ใครจะว่าอะไรสักเล็กน้อยก็ถือเป็นใหญ่โต คอยโกรธเขาไป เป็นคนไม่มีสุข พึงสังเกตบุคคลที่มีโทสจริตได้จากโทสจริตอิริยาบถหนึ่ง โทสจริตกิจวัตรหนึ่ง โทสจริตโภชนะหนึ่ง โทสจริตทรรศนะหนึ่ง โทสจริตธรรมหนึ่ง และโทสจริตลักษณะหนึ่ง
4.โมหจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามโมหะ คือ หลงงมงาย พบอะไรเข้าเห็นอะไรเข้าก็หลงงมงายไป ไม่รู้จักดีชั่วผิดถูกอย่างไร รวมความก็คือไม่มีปัญญา คนชนิดนี้ไม่สามารถจะรู้ดีรู้ชอบได้ พึงสังเกตบุคคลที่มีโมหจริตได้จากโมหจริตอิริยาบถหนึ่ง โมหจริตกิจวัตรหนึ่ง โมหจริตโภชนะหนึ่ง โมหจริตทรรศนะหนึ่ง โมหจริตธรรมหนึ่ง และโมหจริตลักษณะหนึ่ง
5.วิตกจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามวิตกจริต คือ มีลักษณะเป็นคนชอบคิดการณ์ไกล แต่เปลี่ยนใจบ่อย นึกคิดตรึกตรองหลายรอบก่อนตัดสินใจ คนจำพวกนี้มีจิตฟุ้งซ่านมาก พึงสังเกตบุคคลที่มีวิตกจริตได้จากวิตกจริตอิริยาบถหนึ่ง วิตกจริตกิจวัตรหนึ่ง วิตกจริตโภชนะหนึ่ง วิตกจริตทรรศนะหนึ่ง วิตกจริตธรรมหนึ่ง และวิตกจริตลักษณะหนึ่ง
6.ศรัทธาจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามศรัทธา คือ มีลักษณะเป็นคนนับถือตนเอง เสียสละ มีหลักการ มีศรัทธาแรงกล้าในสิ่งที่เชื่อถือ พึงสังเกตบุคคลที่มีศรัทธาจริตได้จากศรัทธาจริตอิริยาบถหนึ่ง ศรัทธาจริตกิจวัตรหนึ่ง ศรัทธาจริตโภชนะหนึ่ง ศรัทธาจริตทรรศนะหนึ่ง ศรัทธาจริตธรรมหนึ่ง และศรัทธาจริตลักษณะหนึ่ง
7.พุทธิจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามพุทธิ คือมีลักษณะเป็นคนมีไหวพริบ จดจำเรียนรู้ได้ดี มีปัญญาดี ประนีประนอม สุภาพ มีเมตตาสูง พึงสังเกตบุคคลที่มีศรัทธาจริตได้จากพุทธิจริตอิริยาบถหนึ่ง พุทธิจริตกิจวัตรหนึ่ง พุทธิจริตโภชนะหนึ่ง พุทธิจริตทรรศนะหนึ่ง พุทธิจริตธรรมหนึ่ง และพุทธิจริตลักษณะหนึ่ง
8.ราคจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีราคจริต คือมีอิริยาบถพอดีพองาม ไม่เร็วไม่ช้า มีกิริยาท่าทางชดช้อย ยามจะยืนหรือนั่งก็น่าดู มีอาการละมุนละม่อม เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยามจะนอนก็ไม่รีบร้อน ค่อยๆปูที่นอนให้เรียบเสมอ ค่อย ๆ เอนตัวลงนอน วางอวัยวะส่วนต่าง ๆ เรียบร้อยและน่าดู เมื่อถูกปลุกให้ลุกขึ้น ก็ลุกขึ้นโดยไม่ผลุนผลัน
9.ราคจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีราคจริต คือตั้งอกตั้งใจทำกิจวัตรอย่างเรียบร้อย เช่นการกวาดบ้านเป็นต้น จับไม้กวาดอย่างเรียบร้อย ไม่รีบร้อนไม่คุ้ยดินคุ้ยทราย ให้เป็นขุย เรี่ยราดกลาดเกลื่อน กวาดสะอาดเรียบร้อย
10.ราคจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีราคจริต คือชอบใจในอาหารอันละมุน ละไมมีรสอร่อยสนิทหวานมัน ทำคำข้าวให้กลมกล่อมพอเหมาะพอควร บริโภคอาหาร คำไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป เป็นนักชิม ชอบลิ้มรสแปลกๆ บริโภคไปโดยอาการอันไม่รีบร้อน
11.ราคจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีราคจริต อันประกอบด้วย พอใจในรูปสวย ชอบฟังเสียงไพเราะ ชอบดมกลิ่นหอม ชอบลิ้มรสดีรสอร่อย และชอบสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
12.ราคจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีราคจริตยึดครอง ได้แก่ มายา คือเจ้าเล่ห์หนึ่ง สาเฐยฺย คือโอ้อวดหนึ่ง มาน คือถือตัวหนึ่ง ปาปิจฺฉา คือปรารถนาลามกหนึ่ง หิจฺฉา คือเป็นคนมีความปรารถนาใหญ่ ต้องการให้คนทั้งหลายสรรเสริญในคุณงาม ความดีของตนจนเกินประมาณหนึ่ง อสนฺตุฏฺฐิตา คือไม่มีความสันโดษ ไม่มีความพอใจในเครื่องอุปโภคบริโภคหนึ่ง สิงฺค คือเป็นคนมีแง่มีงอนหนึ่ง และจาปลฺย คือชอบประดิดประดอยเครื่องนุ่งห่มและเครื่องประดับ กับทั้งมีความพิถีพิถันเป็นพิเศษในเรื่องความสวยความงามหนึ่ง
13.ราคจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีราคจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ มีน้ำเสียงไพเราะ พูดจาอ่อนหวาน ชอบการมีระเบียบ สะอาด ประณีต เกลียดความสกปรก บุคลิกดี มีมาด ไม่ชอบคิด มักชอบพัฒนาศิลปะ ช่างจินตนาการเพ้อฝัน ช่างสังเกตเก็บข้อมูลเก่ง เข้าได้กับทุกคน เก่งในการประสานงาน การประชาสัมพันธ์และงานที่ต้องใช้บุคลิกภาพ ไม่มีสมาธิ ทำงานใหญ่ได้ยาก ไม่มีเป้าหมายในชีวิต ไม่มีความเป็นผู้นำ ขี้เกรงใจคน ขาดหลักการ อารมณ์รุนแรง ช่างอิจฉา ริษยา และชอบปรุงแต่งขยายความ
14.โทสจริตอิริยาบถ หมายถึงอิริยาบถของผู้ที่มีโทสจริต คือ เป็นผู้มีอิริยาบถฉับไว ยามเมื่อยืนหรือนั่ง มีกิริยากระด้างไม่น่าดู บ้าดีเดือด ปราศจากเหตุผล เดินไปประดุจจิกปลายเท้า วางเท้าเร็วและยกเท้าก็เร็ว รอยเท้าปลายเท้าจิกลง เดินเร็ว เดินแรง เมื่อจะนอนมีอาการรีบร้อน จัดที่นอนไม่ประณีต นอนขวางทางเกะกะคนอื่น โดยไม่เกรงใจใคร เมื่อถูกปลุกให้ลุกก็ทะลึ่ง ลุกขึ้นอย่างผลุนผลัน มีอาการดุเดือด หน้าบูดบึ้ง
15.โทสจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีโทสจริต คือทำกิจกรรมอย่างรีบเร่ง แต่ได้ผลสำเร็จที่ไม่สวยงาม เช่นเมื่อทำการปัดกวาดที่อยู่ อาศัย ก็ตั้งหน้าตั้งตากวาด อย่างเข้มแข็ง มือกำไม้กวาดไว้แน่น ท่าทางขึงขัง กวาดไปอย่างรีบร้อนสะอาดเป็นย่อมๆ
16.โทสจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีโทสจริต คือ ชอบใจในอาหารหยาบ ๆ มีรสจัด เช่นเปรี้ยวจัดเค็มจัด ขมจัด ฝาดจัด ทำคำข้าวโตจนคับปาก บริโภคไปด้วยอาการอันรีบร้อน อาหารไม่ถูกปากเพียงเล็กน้อย ก็มีอาการหงุดหงิด พาลโกรธ
17.โทสจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีโทสจริต อันประกอบด้วย พอใจเมื่อมองเห็นรูปสวย พอใจเมื่อได้ฟังเสียงที่ไพเราะ พอใจเมื่อดมกลิ่นที่ต้องใจ พอใจเมื่อลิ้มรสที่ต้องใจ พอใจเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ละมุนละม่อม ในทางกลับกันจะโกรธเมื่อมองเห็นรูปไม่สวย โกรธเมื่อได้ฟังเสียงที่ไม่เพราะ โกรธเมื่อดมกลิ่นไม่ต้องใจ โกรธเมื่อลิ้มรสไม่ต้องใจ โกรธเมื่อได้สัมผัสสิ่งหยาบไม่ละมุ่นละม่อม
18.โทสจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีโทสจริตยึดครอง ได้แก่ โกธ คือเป็นคนโกรธง่ายหนึ่ง อุปนาห คือเป็นคนผูกโกรธผูกอาฆาตหนึ่ง มกฺข คือมักลบหลู่คุณท่าน เป็นคนเนรคุณหนึ่ง ปลาส คือเป็นคนอวดดี มักตีตนเทียมท่านอยู่เสมอหนึ่ง อิสฺสา คือเป็นคนมีใจน่าชัง มักริษยาในคุณสมบัติของผู้อื่น ที่ดีกว่าตนหรือเสมอตนหนึ่ง และมจฺฉริย คือเป็นคนตระหนี่เหนียวแน่น มักเอารัดเอาเปรียบผู้อื่นอย่างน่าเกลียดหนึ่ง
19.โทสจริตลักษณะ หมายถึง ลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีโทสจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ จิตขุ่นเคือง โกรธง่าย หนักไปทางเจ้าอารมณ์ คาดหวังว่าโลกต้องเป็นอย่างที่ตัวเองคิด พูดตรงไปตรงมา ชอบชี้ถูกชี้ผิด พูดเสียงดัง เป็นคนใจเร็ว ชอบจับผิด เจ้าระเบียบ เคร่งกฎเกณฑ์ แต่งตัวประณีต สะอาดสะอ้าน เป็นคนตรงแน่ว อุทิศตัวทุ่มเทให้กับการงาน มีระเบียบวินัยสูง ตรงเวลา วิเคราะห์เก่ง มองอะไรตรงไปตรงมา ปกป้องสังคมจากการเสื่อมได้ดี มีความจริงใจต่อผู้อื่น สามารถพึ่งพาได้ พูดคำไหนคำนั้น ไม่ค่อยโลภ ร้อนรุ่ม ไม่มีความเมตตา ไม่เป็นที่น่าคบค้า สมาคมของคนอื่น ไม่มีบารมี ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ สร้างวจีกรรมเป็นประจำ มีโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย
20.โมหจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีโมหจริต คือ อิริยาบถเฉไฉยืนหรือนั่งก็มีอาการบ่งเซ่อมีอาการการเหม่อลอยพิกล เดินโดยอาการเปะปะ ทอดเท้าดุจคนขย่มตัว รอยเท้าจิกลงไปทั้งปลาย เท้าและส้นเท้า ยามนอนก็ไม่น่าดู นอนวางมือเกะกะโดยไม่รู้ตัว จัดปูที่นอนก็ไม่เรียบร้อย มักชอบนอนคว่ำหน้า เมื่อเวลาถูกปลุกให้ลุก ลุกขึ้นอย่างเชื่องช้า หาวเรอ กระบิดกระบวน
21.โมหจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีโมหจริต คือ เป็นคนมักกระทำกิจไปโดยอาการหยาบ เหมือนกับไม่เต็มใจไม่มีความถี่ถ้วน หมักหมมคั่งค้างเอาดีอะไรไม่ค่อยได้ เช่นเมื่อทำการปัดกวาดบ้าน จับไม้กวาด ก็จับไว้อย่างหลวม ๆ กวาดไม่สะอาด ไม่เรียบร้อย เป็นต้น
22.โมหจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีโมหจริต คือ ชอบใจในรสอาหารไม่แน่นอน เมื่อบริโภคก็ทำคำข้าวเล็ก ๆ บริโภคด้วยอาการมูมมาม เมล็ดข้าวตกเรี่ยราดเกลื่อนกลาด จิตใจฟุ้งซ่าน คิดไปบริโภคไป อย่างคนใจลอยคน
23.โมหจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีโมหจริต คือมักจะไม่มีทรรศนะต่อ รูปร่างของคนที่ได้พบ ซึมเซ่อไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยสนใจอะไรนั่นเอง เมื่อเห็นผู้อื่นมองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะมองตามผู้อื่นไปด้วย การได้ยิน การได้กลิ่น การได้ลิ้มรสและการได้เห็น การสัมผัส เข้าลักษณะปรปัจจยิโก คือ ผู้อื่นเป็นปัจจัยทั้งสิ้นต้องอาศัยผู้อื่นทุกอย่าง
24.โมหจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีโมหจริตยึดครอง ได้แก่ ถีนมิทฺธ คือ เป็นคนมีจิตใจง่วงเหงาหาวนอน หดหู่ ท้อถอยปราศจากความเข้มแข็ง ซึ่งเป็นเหตุให้กิจการต่าง ๆ ที่ตั้งใจทำ สำเร็จได้โดยยากและสำเร็จได้ช้ากว่าเวลาอันควรหรือไม่สำเร็จหนึ่ง ปรปัจจยิโก คือ ใครเขาว่าดีก็พลอยพยักหน้าว่าดีด้วยหนึ่ง กุกฺกุจฺจ คือ เป็นคนมักมีความรำคาญเกิดขึ้นในใจบ่อย ๆ เช่น เมื่อมีการประชุม เพื่อปรึกษาหารือในกิจการ ซึ่งจำต้องใช้ปัญญาพิจารณาหาเหตุผลคนโมหจริต ผู้มีจิตใจ ไม่ใคร่จะสนใจในสิ่งทั้งปวง มักเกิดความรำคาญให้รู้สึกว่าเป็นการทรมานในการที่จะแสดงหรือฟังความคิดเห็นนั้น ๆหนึ่ง และอาทานคาหิตา คือ เป็นคนมีการยึดมั่นถือมั่น โดยปราศจากเหตุผล หมายความว่าเป็นคนโง่เขลาเบาปัญญา หากว่าเกิดความเชื่อมั่นในสิ่งใดแล้ว ก็เชื่ออย่างเต็มหัวใจอยู่ตามเดิมนั่นเอง ไม่ยอมคลายทิฐิ เช่น ถูกยุยงให้เกลียดใครแล้ว แม้ภายหลังจะรู้ว่าผู้ที่ตนเกลียดนั้นเป็นคนดี เป็นผู้บริสุทธิ์ ก็ยังมีความเกลียดชังหนึ่ง
25.โมหจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีโมหจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ เป็นคนเบื่อหน่าย ง่วงซึม พูดจาเบาๆ นุ่มนวลอ่อนโยน ยิ้มง่าย อารมณ์ ไม่ค่อยเสีย ไม่ค่อยโกรธใคร ไม่ชอบเข้าสังคม ยึดความเป็นสถาบันสูง ไม่ชอบทำตัวเป็นจุดเด่น เดินแบบขาดจุดมุ้งหมาย ไร้ความมั่นคง แต่ไม่ฟุ้งซ่าน เข้าใจอะไรได้ง่ายและชัดเจนเนื่องจากเป็นคนมีความรู้สึกดีมากกว่าการคิดแบบมีเหตุผล จึงมักตัดสินใจอะไรได้ถูกต้อง ทำงานเก่ง โดยเฉพาะงานประจำ ไม่ค่อยทุกข์หรือเครียดมากนัก เป็นคนดี เป็นเพื่อนที่น่าคบ ไม่ทำร้ายใคร ไม่มีความมั่นใจ มองตัวเองต่ำกว่าความเป็นจริง โทษตัวเองเสมอ เห็นแก่ตัวอยากได้ของคนอื่น หมกมุ่นแต่เรื่องตัวเองไม่สนใจคนอื่น ลุ่มหลงในลาภสักการะชื่อเสียงเกียรติยศ มักงมงายในบทบาทที่ สังคมสมมุติให้ บ้าอำนาจ ถือความเห็นตัวเองเป็นใหญ่ ไม่จัดระบบความคิด ทำให้เสมือนไม่มีความรู้ ไม่มีความเป็นผู้นำ สมาธิอ่อนและสั้นเบื่อง่าย อารมณ์อ่อนไหวง่ายใจน้อย
26.วิตกจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ อิริยาบถเฉไฉยืนหรือนั่งก็มีอาการบ่งเซ่อมีอาการการเหม่อลอยพิกล เดินโดยอาการเปะปะ ทอดเท้าดุจคนขย่มตัว รอยเท้าจิกลงไปทั้งปลาย เท้าและส้นเท้า ยามนอนก็ไม่น่าดู นอนวางมือเกะกะโดยไม่รู้ตัว จัดปูที่นอนก็ไม่เรียบร้อย มักชอบนอนคว่ำหน้า เมื่อเวลาถูกปลุกให้ลุก ลุกขึ้นอย่างเชื่องช้า หาวเรอ กระบิดกระบวน
27.วิตกจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ มักกระทำกิจไปโดยอาการหยาบ เหมือนกับไม่เต็มใจไม่มีความถี่ถ้วน หมักหมมคั่งค้างเอาดีอะไรไม่ค่อยได้ เช่นเมื่อทำการปัดกวาด จับไม้กวาด ก็จับไว้อย่างหลวม ๆ กวาดไม่สะอาด ไม่เรียบร้อย ปัดกวาดขยะที่ใกล้ประตูก่อน
28.วิตกจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีวิตกจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ ชอบใจในรสอาหารไม่แน่นอน เมื่อบริโภคก็ทำคำข้าวเล็ก ๆ บริโภคด้วยอาการมูมมาม เมล็ดข้าวตกเรี่ยราดเกลื่อนกลาด จิตใจฟุ้งซ่าน คิดไปบริโภคไป อย่างคนใจลอยคน
29.วิตกจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ มักจะไม่มีทรรศนะต่อ รูปร่างของคนที่ได้พบ ซึมเซ่อไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยสนใจอะไรนั่นเอง เมื่อเห็นผู้อื่นมองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะมองตามผู้อื่นไปด้วย
30.วิตกจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีวิตกจริตยึดครอง ได้แก่ ภสฺสพหุลตา คือ ชอบรำพันถึงเรื่องไม่เป็นเรื่อง บางทีเรื่องเล็กนิดเดียว แต่คนวิตกจริตเก็บเอาไปคิด เก็บเอาไปรำพัน อยู่ได้นาน ๆ โดยไม่มีวันจบสิ้นอย่างน่ารำคาญหนึ่ง คณารามตา คือ เป็นคนชอบคลุกคลีกับหมู่คณะเห็นคนทั้งหลายเขารวมกลุ่มกันอยู่ที่ไหนก็มักจะพลอยเข้าไปรวมกลุ่มกับเขาด้วย แม้จะถูกเขาพูดจาล้อเลียนสบประมาท อย่างไรก็มิใส่ใจ ไม่ถือสาหาความหนึ่ง กุสลานุโยเค อรติ คือ เป็นคนมีความคิดเฉื่อยชาในการประกอบกุศลกรรม ความคิดริเริ่มอย่างแรงกล้า ในการที่จะทำบุญ บริจาคทาน รักษาศีลและเจริญภาวนาย่อมไม่เกิดมีในบุคคลประเภทวิตกจริตนั้นด้วยหนึ่ง อนวฏฺ ฐิตกิจฺจตา คือ เป็นคนจับจด ทำอะไรไม่เป็นชิ้นเป็นอัน ชอบพลุกพล่านไปทางโน้นทางนี้ เปลี่ยนงานเรื่อยไป ไม่มีที่สิ้นสุดหนึ่ง รตฺติธุมายนา คือ เป็นคนเข้าลักษณาการที่เรียกว่า "กลางคืนเป็นควัน" หมายถึงกลางคืนชอบคิดว่าตนจะทำอย่างนั้นอย่างนี้ คิดหาวิธีการ คิดวางโครงการแบบสร้างวิมานในอากาศอย่างใหญ่โตมโหฬาร คล้ายกับว่าตนจะเป็นเจ้าโลกในความคิดฝันหนึ่ง และ หุราหุรํธาวนา คือ เป็นคนเจ้าความคิด มักคิดพลุ่งพล่านไปในเรื่องอะไรต่อมิอะไรร้อยแปดพันเก้า จิตใจไม่ค่อยมีโอกาสที่จะสงบนิ่งลงได้เลยหนึ่ง
31.วิตกจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีวิตกจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ พูดเป็นน้ำไหลไฟดับ ถ้าเกิดความขลาดกลัวจะวิตกกังวลใจมาก ความคิดพวยพุ่ง ชอบคิดมากแต่ไม่มีเหตุผลฟุ้งซ่านในโลกความคิดไม่ใช่โลกความจริง มองโลกในแง่ร้ายคิดว่าคนอื่นจะเอาเปรียบกลั่นแกล้งตน หน้าบึ้งตึงไม่ค่อยยิ้ม เจ้ากี้เจ้าการ อัตตาสูงคิดว่าตัวเองเก่ง อยากรู้อยากเห็นไปทุกเรื่อง ผัดวันประกันพรุ่ง เป็นนักคิดระดับเยี่ยมยอด มองอะไรทะลุปรุโปร่งหลายชั้น เป็นนักพูดที่เก่งจูงใจคนได้ดี เป็นผู้นำหลายวงการ ชอบแหกกฎเกณฑ์ คิดนอกกรอบ ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆต่อสังคม ละเอียดรอบคอบ เจาะลึกในรายละเอียด เห็นความผิดเล็กความผิดน้อยที่คนอื่นไม่เห็น มองจุดเล็กลืมภาพใหญ่ เปลี่ยนแปลงความคิดตลอดเวลา เปลี่ยนจุดยืนกลับไปกลับมา ไม่รักษาสัญญา มีแต่ความคิด ไม่มีความรู้สึกไม่มีวิจารณญาณ ลังแล ตัดสินใจไม่เด็ดขาด ไม่กล้าตัดสินใจ มักตัดสินใจผิดพลาด มักทะเลาวิวาท ทำร้ายจิตใจผู้อื่น เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น มีความทุกข์ เพราะเห็นแต่ปัญหา แต่หาทางแก้ไม่ได้
32.ศรัทธาจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีศรัทธาจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ มีอิริยาบถพอดีพองาม ไม่เร็วไม่ช้า มีกิริยาท่าทางชดช้อย ยามจะยืนหรือนั่งก็น่าดู มีอาการละมุนละม่อม เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยกเท้าขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรอยเท้ากระโหย่ง เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยกเท้าขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรอยเท้ากระโหย่ง ยามจะนอนก็ไม่รีบร้อน ค่อยปูที่นอนให้เรียบเสมอ ค่อย ๆ เอนตัวลงนอน วางอวัยวะส่วนต่าง ๆ เรียบร้อยและน่าดู เมื่อถูกปลุกให้ลุกขึ้น ก็ลุกขึ้นโดยไม่ผลุนผลัน
33.ศรัทธาจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีศรัทธาจริต ซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ ตั้งอกตั้งใจทำกิจวัตรอย่างเรียบร้อย เช่นการกวาดบ้านเป็นต้น จับไม้กวาดอย่างเรียบร้อย ไม่รีบร้อนไม่คุ้ยดินคุ้ยทราย ให้เป็นขุยเรี่ยราดกลาดเกลื่อน กวาดสะอาดเรียบร้อย
34.ศรัทธาจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีศรัทธาจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ ชอบใจในอาหารอันละมุน ละไม มีรสอร่อยสนิทหวานมัน ทำคำข้าวให้กลมกล่อมพอเหมาะพอควร บริโภคอาหาร คำไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป เป็นนักชิม ชอบลิ้มรสแปลกๆ บริโภคไปโดยอาการอันไม่รีบร้อน
35.ศรัทธาจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสของผู้ที่มีศรัทธาจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ พอใจในรูปสวย ชอบฟังเสียงไพเราะ ชอบดมกลิ่นหอม ชอบลิ้มรสดีรสอร่อย และชอบสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
36.ศรัทธาจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีศรัทธาจริตยึดครอง ได้แก่ มุตฺตจาคตา คือ เป็นคนยอมเสียสละ จึงไม่มีความกังวลห่วงใยในสิ่งทั้งปวงหนึ่ง อริยานํ ทสฺสนกามตา คือ เป็นคนมีศรัทธาอันแรงกล้าปรารถนา ที่จักได้พบเห็นพระอริยเจ้าทั้งหลายอย่างยิ่งยวดหนึ่ง สทฺธมฺมโสตุกามตา คือ เป็นคนมีความปรารถนาที่จักได้สดับรสพระธรรมเทศนา อันมีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกับพระนิพพาน ซึ่งเป็นเรื่องที่โน้มน้าวใจ ตนให้หลุดพ้นจากกองทุกข์ในห้วงทะเลใหญ่ที่เรียกว่าวัฏสงสารหนึ่ง ปาโมชฺชพหุลตา คือ เป็นคนที่มากไปด้วยความปรีดาปราโมทย์ เป็นยิ่งนัก ในเมื่อได้มีโอกาสพบเห็นพระอริยเจ้าและได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาแล้วหนึ่ง อสฐตา คือ เป็นคนไม่โอ้อวด ไม่มีนิสัยพูดพล่อยหนึ่ง อมายาวิตา คือ เป็นคนไม่มีเล่ห์ไม่มีมายาหนึ่ง และปสาโท คือ เป็นคนมีความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย หรือในท่านผู้มีพระคุณเช่นมารดาบิดาครูบาอาจารย์อย่างแท้จริงหนึ่ง
37.ศรัทธาจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีศรัทธาจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ ยึดมั่นอย่างแรงกล้าในบุคคล หลักการหรือความเชื่อถือและความศรัทธา เชื่อโดยไร้เหตุผล กลัวคนนินทา ชอบช่วยเหลือผู้อ่อนแอกว่า คิดว่าตัวเองเป็นคนดี น่าศรัทธา ประเสริฐกว่าคนอื่น ชอบเพื่อน ชอบร่วมกลุ่ม พวกมากลากไป เป็นคนจริงจัง พูดมีหลักการ มีพลังจิตสูงและเข้มแข็ง พร้อมที่จะเสียสละเพื่อผู้อื่น ต้องการเปลี่ยนแปลงตัวเองและสังคมไปสู่สภาพที่ดีกว่าเดิม มีพลังขับเคลื่อนมหาศาล เป็นคนมีอิทธิพลต่อมวลชน มีลักษณะความเป็นผู้นำแต่หูเบา ถูกหลอกได้ง่าย ความเชื่ออยู่เหนือเหตุผล ยิ่งศรัทธามาก ปัญญายิ่งลดน้อยลง หนักไปทางเชื่อถือจริงใจ จิตใจคับแคบ ไม่ยอมรับความคิดที่แตกต่าง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตนคิดว่าถูกต้องสามารถทำได้ทุกอย่างแม้แต่ใช้ความรุนแรง และไม่ประนีประนอม มองโลกเป็นขาวและดำ
38.พุทธิจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีพุทธิจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ เป็นผู้มีอิริยาบถฉับไว ยามเมื่อยืนหรือนั่ง มีกิริยากระด้างไม่น่าดู ปราศจากเหตุผล เดินไปประดุจจิกปลายเท้า วางเท้าเร็วและยกเท้าก็เร็ว รอยเท้าปลายเท้าจิกลง เดินเร็ว เดินแรง เมื่อจะนอนมีอาการรีบร้อน จัดที่นอนไม่ประณีต นอนขวางทางเกะกะคนอื่น โดยไม่เกรงใจใคร เมื่อถูกปลุกให้ลุกก็ทะลึ่ง ลุกขึ้นอย่างผลุนผลัน มีอาการดุเดือด หน้าบูดบึ้ง
39.พุทธิจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีพุทธิจริต ซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ ทำกิจกรรมอย่างรีบเร่ง แต่ได้ผลสำเร็จที่ไม่สวยงาม เช่นเมื่อทำการปัดกวาดที่อยู่ อาศัย ก็ตั้งหน้าตั้งตากวาด อย่างเข้มแข็ง มือกำไม้กวาดไว้แน่น ท่าทางขึงขัง กวาดไปอย่างรีบร้อนสะอาดเป็นย่อมๆ
40.พุทธิจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีพุทธิจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ ชอบใจในอาหารหยาบ ๆ มีรสจัด เช่นเปรี้ยวจัดเค็มจัด ขมจัด ฝาดจัด ทำคำข้าวโตจนคับปาก บริโภคไปด้วยอาการอันรีบร้อน
41.พุทธิจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสของผู้ที่มีพุทธิจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสะจริต คือ พอใจเมื่อมองเห็นรูปสวย พอใจเมื่อได้ฟังเสียงที่ไพเราะ พอใจเมื่อดมกลิ่นที่ต้องใจ พอใจเมื่อลิ้มรสที่ต้องใจ พอใจเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ละมุนละม่อม
42.พุทธิจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีพุทธิจริตยึดครอง ได้แก่ โสวจสฺสตา คือ เป็นคนว่านอนสอนง่าย ยอมรับฟังคำแนะนำสั่งสอนที่มีประโยชน์ด้วยดี ถึงแม้ท่านผู้สั่งสอนนั้น จะไม่ใช่เป็นบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหายก็ตาม หากคำตักเตือนแนะนำนั้นประกอบ ด้วยประโยชน์เกื้อกูล และความดีงามแก่ตนแล้ว ก็ยอมรับเอาทั้งสิ้นหนึ่ง กลฺยาณมิตฺตตา คือ เป็นคนมีปัญญาเลือกคบเอาแต่คนดีเป็นเพื่อนไม่ปรารถนาที่จักคบพาลชนคนเลว หากว่าเป็นคนดีแล้วก็ยอมรับเอาเป็นมิตรตน ในทันทีทันใด โดยไม่มีการเลือกชั้นวรรณะว่าไพร่ผู้ดีหนึ่ง โภชเนมตฺตญฺญุตา คือ เป็นคนมีปัญญารู้จักประมาณในการรับอาหารที่เขาให้ และรู้จักประมาณในการบริโภคไม่มีความประมาท ไม่มีความปรารถนาใหญ่จนเกิดทุกข์ภัยแก่ตัวหนึ่ง สติสมฺปชญฺญํ คือ เป็นคนระวังตัว จะทำอะไรก็คิดหน้าคิดหลังประกอบไปด้วยสติสัมปชัญญะในที่ทุกสถานและในกาลทุกเมื่อหนึ่ง ชาคริยานุโยโค คือ เป็นคนไม่มีความเกียจคร้านหมั่นประกอบความเพียร มีจิตใจตื่นอยู่เป็นนิตย์ในกิจที่ดีงามหนึ่ง สํเวโค คือ เป็นคนมีปัญญา มักเกิดความสังเวชใจและเกิดความเบื่อหน่ายในกิริยาที่ตนจะต้องท่องเที่ยวไปในวัฏสงสาร เห็นทุกข์โทษมหาศาลในการที่ตนจะต้องประสบกับความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไปโดยไม่มีวันสิ้นสุดหนึ่ง และโยนิโสปธานํ คือ เป็นคนมีปัญญาปรารถนาที่จะพันจากกองทุกข์ จึงหมั่นประกอบความเพียรโดยเหมาะโดยควร คือหมั่นสร้างสม อบรมคุณงามความดีให้เกิดมีขึ้นกับตนโดยการให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาเพื่อให้ได้ประสบคติที่ดีงามในภพหน้า ชาติหน้า ต่อ ๆ ไปในอนาคตกาล จนกว่าจะถึงแดนนิพพานหนึ่ง
43.พุทธิจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีพุทธิจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ เจ้าปัญญาเจ้าความคิด มีความฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบความทรงจำดี มองเรื่องต่างๆ ตามสภาพความเป็นจริงไม่ปรุงแต่ง พร้อมรับความคิดที่แตกต่างไปจากของตนเอง ใฝ่เรียนรู้ ช่างสังเกต มีความเมตตาเป็นกัลยาณมิตร ไม่เอาเปรียบคน หน้าตาผ่องใส ตาเป็นประกาย ไม่ทุกข์ ถือหลักการ อนุรักษ์นิยม ชอบสั่งสอนคนอื่น อัตตาต่ำ เปิดใจรับข้อเท็จจริง จิตอยู่ในปัจจุบัน ไม่จมปลักในอดีต และไม่กังวลในสิ่งที่จะเกิดในอนาคต พัฒนาปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ มีความเฉื่อย ไม่ต้องการพัฒนาจิตวิญญาณ ชีวิตราบรื่นมาตลอด หากต้องเผชิญพลังด้านลบ อาจเอาตัวไม่รอด และไม่มีความเป็นผู้นำ จิตไม่มีพลังพอที่จะดึงดูดคนให้คล้อยตาม
ขอจงนำลักษณะของมนุษย์ทั้ง 6 ประเภทประไปยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันเพื่อเปิดใจยอมรับถึงความแตกต่างของปัจเจกชน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:13, 27 กุมภาพันธ์ 2555

ข้อความตัวหนา

กิตติคุณ สารคล่อง

จริต 6

 ศาสตร์ในการอ่านใจมุษย์เป็นเทคนิคที่ลึกลับ ซับซ้อน จริงหรือ เมื่อจะอ่านใจมนุษย์ไม่เป็นเรื่องยากอย่างที่คิด แต่ต้องรู้วิธีก่อน การอ่านใจมนุษย์ต้องเรียนรู้จริต 6 แห่งมนุษญืเสียก่อนซึ่งมีมีธีการสังเกตุมนุษย์ ประเภท

1.ราคจริต 2.โทสจริต 3.โมหจริต 4.วิตกจริต 5.ศรัทธ่จริต 6.พุทธิจริต

        วิธีการที่จะสังเกตลักษณะจริตของมนุษย์ สังเกตได้จาก อิริยาบท คือกริยาอาการ การนั่ง การนอน การยืน การเดินหนึ่ง จากกิจวัตร คืดการทำกิจวัตรประจำวัน กิจการงานการหนึ่ง จากโภชนะ คือนิสัยการรับประทาน ลักษณะรสชาติอารหารหนึ่ง จากทรรศนะ คือรสนิยมในผัสสะทั้ง 5หนึ่ง จากธรรม คือธรรมที่ยึดครองในจิตใจหนึ่ง จากลักษณะ คือจุดดี จุดเด่น และลักษณะที่เป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่วหนึ่ง 
       เมื่อท่านต้องการที่จะทราบลักษณะของจริตมนุษย์ เพื่อที่จะอ่านใจมนุษย์ให้ล่วงรู้ลึกในก้นบึ้งของจิตใจ จงตั้งใจอ่านลักษณะจริตของนมุษย์ ซึ่งมีดังนี้เถิด จักเกิดประโยชน์ยิ่ง

1.จริต 6 หมายถึง ความประพฤติ กิริยาอาการที่แสดงออกมาให้เห็น หรือ ลักษณะนิสัยพื้นฐาน 6 ประการของมนุษย์ที่ประพฤติปฏิบัติเป็นอาจิณ อันเป็นพฤติกรรมตามสภาพสภาพของจิตที่ได้ท่องเที่ยวไป หรืออารมณ์ที่ชอบท่องเที่ยวของจิต ในบุคคลเดียวอาจไม่ได้มีจริตเดียว เป็นจริตผสม แต่จะมีจริตหนึ่งจริตใดที่ปรากฏโดดเด่นที่สุด จริตมี 6 ประเภทได้แก่ 1.ราคจริต 2.โทสจริต 3.โมหจริต 4.วิตกจริต 5.ศรัทธาจริต 6.พุทธิจริต พึงทราบจริตแห่งมนุษย์ทั้งหลาย โดยอาศัยการสังเกตจากอิริยาบถ กิจวัตร โภชนะ ทรรศนะ และลักษณะเฉพาะของบุคคล 2.ราคจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติตามราคะ คือ ความยินดี ความชอบใจ คนเช่นนี้มีอาการให้รักสวยรักงามทำอะไรก็มุ่งความสะอาด เกลียดสิ่งสกปรก เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะหมกมุ่นมัวเมาอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เห็นว่าสวยงามและเกลียดในสิ่งตรงกันข้าม พึงสังเกตบุคคลที่มีราคะจริตได้จากราคจริตอิริยาบถหนึ่ง ราคจริตกิจวัตรหนึ่ง ราคจริตโภชนะหนึ่ง ราคจริตทรรศนะหนึ่ง ราคจริตธรรมหนึ่ง และราคจริตลักษณะหนึ่ง 3.โทสจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามโทสะ คือ เป็นผู้มักโกรธแค้นขัดเคืองอยู่เสมอ ใครจะว่าอะไรสักเล็กน้อยก็ถือเป็นใหญ่โต คอยโกรธเขาไป เป็นคนไม่มีสุข พึงสังเกตบุคคลที่มีโทสจริตได้จากโทสจริตอิริยาบถหนึ่ง โทสจริตกิจวัตรหนึ่ง โทสจริตโภชนะหนึ่ง โทสจริตทรรศนะหนึ่ง โทสจริตธรรมหนึ่ง และโทสจริตลักษณะหนึ่ง 4.โมหจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามโมหะ คือ หลงงมงาย พบอะไรเข้าเห็นอะไรเข้าก็หลงงมงายไป ไม่รู้จักดีชั่วผิดถูกอย่างไร รวมความก็คือไม่มีปัญญา คนชนิดนี้ไม่สามารถจะรู้ดีรู้ชอบได้ พึงสังเกตบุคคลที่มีโมหจริตได้จากโมหจริตอิริยาบถหนึ่ง โมหจริตกิจวัตรหนึ่ง โมหจริตโภชนะหนึ่ง โมหจริตทรรศนะหนึ่ง โมหจริตธรรมหนึ่ง และโมหจริตลักษณะหนึ่ง 5.วิตกจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามวิตกจริต คือ มีลักษณะเป็นคนชอบคิดการณ์ไกล แต่เปลี่ยนใจบ่อย นึกคิดตรึกตรองหลายรอบก่อนตัดสินใจ คนจำพวกนี้มีจิตฟุ้งซ่านมาก พึงสังเกตบุคคลที่มีวิตกจริตได้จากวิตกจริตอิริยาบถหนึ่ง วิตกจริตกิจวัตรหนึ่ง วิตกจริตโภชนะหนึ่ง วิตกจริตทรรศนะหนึ่ง วิตกจริตธรรมหนึ่ง และวิตกจริตลักษณะหนึ่ง 6.ศรัทธาจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามศรัทธา คือ มีลักษณะเป็นคนนับถือตนเอง เสียสละ มีหลักการ มีศรัทธาแรงกล้าในสิ่งที่เชื่อถือ พึงสังเกตบุคคลที่มีศรัทธาจริตได้จากศรัทธาจริตอิริยาบถหนึ่ง ศรัทธาจริตกิจวัตรหนึ่ง ศรัทธาจริตโภชนะหนึ่ง ศรัทธาจริตทรรศนะหนึ่ง ศรัทธาจริตธรรมหนึ่ง และศรัทธาจริตลักษณะหนึ่ง 7.พุทธิจริต หมายถึง นิสัยของบุคคลที่ประพฤติไปตามพุทธิ คือมีลักษณะเป็นคนมีไหวพริบ จดจำเรียนรู้ได้ดี มีปัญญาดี ประนีประนอม สุภาพ มีเมตตาสูง พึงสังเกตบุคคลที่มีศรัทธาจริตได้จากพุทธิจริตอิริยาบถหนึ่ง พุทธิจริตกิจวัตรหนึ่ง พุทธิจริตโภชนะหนึ่ง พุทธิจริตทรรศนะหนึ่ง พุทธิจริตธรรมหนึ่ง และพุทธิจริตลักษณะหนึ่ง 8.ราคจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีราคจริต คือมีอิริยาบถพอดีพองาม ไม่เร็วไม่ช้า มีกิริยาท่าทางชดช้อย ยามจะยืนหรือนั่งก็น่าดู มีอาการละมุนละม่อม เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยามจะนอนก็ไม่รีบร้อน ค่อยๆปูที่นอนให้เรียบเสมอ ค่อย ๆ เอนตัวลงนอน วางอวัยวะส่วนต่าง ๆ เรียบร้อยและน่าดู เมื่อถูกปลุกให้ลุกขึ้น ก็ลุกขึ้นโดยไม่ผลุนผลัน 9.ราคจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีราคจริต คือตั้งอกตั้งใจทำกิจวัตรอย่างเรียบร้อย เช่นการกวาดบ้านเป็นต้น จับไม้กวาดอย่างเรียบร้อย ไม่รีบร้อนไม่คุ้ยดินคุ้ยทราย ให้เป็นขุย เรี่ยราดกลาดเกลื่อน กวาดสะอาดเรียบร้อย 10.ราคจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีราคจริต คือชอบใจในอาหารอันละมุน ละไมมีรสอร่อยสนิทหวานมัน ทำคำข้าวให้กลมกล่อมพอเหมาะพอควร บริโภคอาหาร คำไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป เป็นนักชิม ชอบลิ้มรสแปลกๆ บริโภคไปโดยอาการอันไม่รีบร้อน 11.ราคจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีราคจริต อันประกอบด้วย พอใจในรูปสวย ชอบฟังเสียงไพเราะ ชอบดมกลิ่นหอม ชอบลิ้มรสดีรสอร่อย และชอบสัมผัสที่ละเอียดอ่อน 12.ราคจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีราคจริตยึดครอง ได้แก่ มายา คือเจ้าเล่ห์หนึ่ง สาเฐยฺย คือโอ้อวดหนึ่ง มาน คือถือตัวหนึ่ง ปาปิจฺฉา คือปรารถนาลามกหนึ่ง หิจฺฉา คือเป็นคนมีความปรารถนาใหญ่ ต้องการให้คนทั้งหลายสรรเสริญในคุณงาม ความดีของตนจนเกินประมาณหนึ่ง อสนฺตุฏฺฐิตา คือไม่มีความสันโดษ ไม่มีความพอใจในเครื่องอุปโภคบริโภคหนึ่ง สิงฺค คือเป็นคนมีแง่มีงอนหนึ่ง และจาปลฺย คือชอบประดิดประดอยเครื่องนุ่งห่มและเครื่องประดับ กับทั้งมีความพิถีพิถันเป็นพิเศษในเรื่องความสวยความงามหนึ่ง 13.ราคจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีราคจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ มีน้ำเสียงไพเราะ พูดจาอ่อนหวาน ชอบการมีระเบียบ สะอาด ประณีต เกลียดความสกปรก บุคลิกดี มีมาด ไม่ชอบคิด มักชอบพัฒนาศิลปะ ช่างจินตนาการเพ้อฝัน ช่างสังเกตเก็บข้อมูลเก่ง เข้าได้กับทุกคน เก่งในการประสานงาน การประชาสัมพันธ์และงานที่ต้องใช้บุคลิกภาพ ไม่มีสมาธิ ทำงานใหญ่ได้ยาก ไม่มีเป้าหมายในชีวิต ไม่มีความเป็นผู้นำ ขี้เกรงใจคน ขาดหลักการ อารมณ์รุนแรง ช่างอิจฉา ริษยา และชอบปรุงแต่งขยายความ 14.โทสจริตอิริยาบถ หมายถึงอิริยาบถของผู้ที่มีโทสจริต คือ เป็นผู้มีอิริยาบถฉับไว ยามเมื่อยืนหรือนั่ง มีกิริยากระด้างไม่น่าดู บ้าดีเดือด ปราศจากเหตุผล เดินไปประดุจจิกปลายเท้า วางเท้าเร็วและยกเท้าก็เร็ว รอยเท้าปลายเท้าจิกลง เดินเร็ว เดินแรง เมื่อจะนอนมีอาการรีบร้อน จัดที่นอนไม่ประณีต นอนขวางทางเกะกะคนอื่น โดยไม่เกรงใจใคร เมื่อถูกปลุกให้ลุกก็ทะลึ่ง ลุกขึ้นอย่างผลุนผลัน มีอาการดุเดือด หน้าบูดบึ้ง 15.โทสจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีโทสจริต คือทำกิจกรรมอย่างรีบเร่ง แต่ได้ผลสำเร็จที่ไม่สวยงาม เช่นเมื่อทำการปัดกวาดที่อยู่ อาศัย ก็ตั้งหน้าตั้งตากวาด อย่างเข้มแข็ง มือกำไม้กวาดไว้แน่น ท่าทางขึงขัง กวาดไปอย่างรีบร้อนสะอาดเป็นย่อมๆ 16.โทสจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีโทสจริต คือ ชอบใจในอาหารหยาบ ๆ มีรสจัด เช่นเปรี้ยวจัดเค็มจัด ขมจัด ฝาดจัด ทำคำข้าวโตจนคับปาก บริโภคไปด้วยอาการอันรีบร้อน อาหารไม่ถูกปากเพียงเล็กน้อย ก็มีอาการหงุดหงิด พาลโกรธ 17.โทสจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีโทสจริต อันประกอบด้วย พอใจเมื่อมองเห็นรูปสวย พอใจเมื่อได้ฟังเสียงที่ไพเราะ พอใจเมื่อดมกลิ่นที่ต้องใจ พอใจเมื่อลิ้มรสที่ต้องใจ พอใจเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ละมุนละม่อม ในทางกลับกันจะโกรธเมื่อมองเห็นรูปไม่สวย โกรธเมื่อได้ฟังเสียงที่ไม่เพราะ โกรธเมื่อดมกลิ่นไม่ต้องใจ โกรธเมื่อลิ้มรสไม่ต้องใจ โกรธเมื่อได้สัมผัสสิ่งหยาบไม่ละมุ่นละม่อม 18.โทสจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีโทสจริตยึดครอง ได้แก่ โกธ คือเป็นคนโกรธง่ายหนึ่ง อุปนาห คือเป็นคนผูกโกรธผูกอาฆาตหนึ่ง มกฺข คือมักลบหลู่คุณท่าน เป็นคนเนรคุณหนึ่ง ปลาส คือเป็นคนอวดดี มักตีตนเทียมท่านอยู่เสมอหนึ่ง อิสฺสา คือเป็นคนมีใจน่าชัง มักริษยาในคุณสมบัติของผู้อื่น ที่ดีกว่าตนหรือเสมอตนหนึ่ง และมจฺฉริย คือเป็นคนตระหนี่เหนียวแน่น มักเอารัดเอาเปรียบผู้อื่นอย่างน่าเกลียดหนึ่ง 19.โทสจริตลักษณะ หมายถึง ลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีโทสจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ จิตขุ่นเคือง โกรธง่าย หนักไปทางเจ้าอารมณ์ คาดหวังว่าโลกต้องเป็นอย่างที่ตัวเองคิด พูดตรงไปตรงมา ชอบชี้ถูกชี้ผิด พูดเสียงดัง เป็นคนใจเร็ว ชอบจับผิด เจ้าระเบียบ เคร่งกฎเกณฑ์ แต่งตัวประณีต สะอาดสะอ้าน เป็นคนตรงแน่ว อุทิศตัวทุ่มเทให้กับการงาน มีระเบียบวินัยสูง ตรงเวลา วิเคราะห์เก่ง มองอะไรตรงไปตรงมา ปกป้องสังคมจากการเสื่อมได้ดี มีความจริงใจต่อผู้อื่น สามารถพึ่งพาได้ พูดคำไหนคำนั้น ไม่ค่อยโลภ ร้อนรุ่ม ไม่มีความเมตตา ไม่เป็นที่น่าคบค้า สมาคมของคนอื่น ไม่มีบารมี ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ สร้างวจีกรรมเป็นประจำ มีโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย 20.โมหจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีโมหจริต คือ อิริยาบถเฉไฉยืนหรือนั่งก็มีอาการบ่งเซ่อมีอาการการเหม่อลอยพิกล เดินโดยอาการเปะปะ ทอดเท้าดุจคนขย่มตัว รอยเท้าจิกลงไปทั้งปลาย เท้าและส้นเท้า ยามนอนก็ไม่น่าดู นอนวางมือเกะกะโดยไม่รู้ตัว จัดปูที่นอนก็ไม่เรียบร้อย มักชอบนอนคว่ำหน้า เมื่อเวลาถูกปลุกให้ลุก ลุกขึ้นอย่างเชื่องช้า หาวเรอ กระบิดกระบวน 21.โมหจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีโมหจริต คือ เป็นคนมักกระทำกิจไปโดยอาการหยาบ เหมือนกับไม่เต็มใจไม่มีความถี่ถ้วน หมักหมมคั่งค้างเอาดีอะไรไม่ค่อยได้ เช่นเมื่อทำการปัดกวาดบ้าน จับไม้กวาด ก็จับไว้อย่างหลวม ๆ กวาดไม่สะอาด ไม่เรียบร้อย เป็นต้น 22.โมหจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีโมหจริต คือ ชอบใจในรสอาหารไม่แน่นอน เมื่อบริโภคก็ทำคำข้าวเล็ก ๆ บริโภคด้วยอาการมูมมาม เมล็ดข้าวตกเรี่ยราดเกลื่อนกลาด จิตใจฟุ้งซ่าน คิดไปบริโภคไป อย่างคนใจลอยคน 23.โมหจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีโมหจริต คือมักจะไม่มีทรรศนะต่อ รูปร่างของคนที่ได้พบ ซึมเซ่อไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยสนใจอะไรนั่นเอง เมื่อเห็นผู้อื่นมองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะมองตามผู้อื่นไปด้วย การได้ยิน การได้กลิ่น การได้ลิ้มรสและการได้เห็น การสัมผัส เข้าลักษณะปรปัจจยิโก คือ ผู้อื่นเป็นปัจจัยทั้งสิ้นต้องอาศัยผู้อื่นทุกอย่าง 24.โมหจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีโมหจริตยึดครอง ได้แก่ ถีนมิทฺธ คือ เป็นคนมีจิตใจง่วงเหงาหาวนอน หดหู่ ท้อถอยปราศจากความเข้มแข็ง ซึ่งเป็นเหตุให้กิจการต่าง ๆ ที่ตั้งใจทำ สำเร็จได้โดยยากและสำเร็จได้ช้ากว่าเวลาอันควรหรือไม่สำเร็จหนึ่ง ปรปัจจยิโก คือ ใครเขาว่าดีก็พลอยพยักหน้าว่าดีด้วยหนึ่ง กุกฺกุจฺจ คือ เป็นคนมักมีความรำคาญเกิดขึ้นในใจบ่อย ๆ เช่น เมื่อมีการประชุม เพื่อปรึกษาหารือในกิจการ ซึ่งจำต้องใช้ปัญญาพิจารณาหาเหตุผลคนโมหจริต ผู้มีจิตใจ ไม่ใคร่จะสนใจในสิ่งทั้งปวง มักเกิดความรำคาญให้รู้สึกว่าเป็นการทรมานในการที่จะแสดงหรือฟังความคิดเห็นนั้น ๆหนึ่ง และอาทานคาหิตา คือ เป็นคนมีการยึดมั่นถือมั่น โดยปราศจากเหตุผล หมายความว่าเป็นคนโง่เขลาเบาปัญญา หากว่าเกิดความเชื่อมั่นในสิ่งใดแล้ว ก็เชื่ออย่างเต็มหัวใจอยู่ตามเดิมนั่นเอง ไม่ยอมคลายทิฐิ เช่น ถูกยุยงให้เกลียดใครแล้ว แม้ภายหลังจะรู้ว่าผู้ที่ตนเกลียดนั้นเป็นคนดี เป็นผู้บริสุทธิ์ ก็ยังมีความเกลียดชังหนึ่ง 25.โมหจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีโมหจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ เป็นคนเบื่อหน่าย ง่วงซึม พูดจาเบาๆ นุ่มนวลอ่อนโยน ยิ้มง่าย อารมณ์ ไม่ค่อยเสีย ไม่ค่อยโกรธใคร ไม่ชอบเข้าสังคม ยึดความเป็นสถาบันสูง ไม่ชอบทำตัวเป็นจุดเด่น เดินแบบขาดจุดมุ้งหมาย ไร้ความมั่นคง แต่ไม่ฟุ้งซ่าน เข้าใจอะไรได้ง่ายและชัดเจนเนื่องจากเป็นคนมีความรู้สึกดีมากกว่าการคิดแบบมีเหตุผล จึงมักตัดสินใจอะไรได้ถูกต้อง ทำงานเก่ง โดยเฉพาะงานประจำ ไม่ค่อยทุกข์หรือเครียดมากนัก เป็นคนดี เป็นเพื่อนที่น่าคบ ไม่ทำร้ายใคร ไม่มีความมั่นใจ มองตัวเองต่ำกว่าความเป็นจริง โทษตัวเองเสมอ เห็นแก่ตัวอยากได้ของคนอื่น หมกมุ่นแต่เรื่องตัวเองไม่สนใจคนอื่น ลุ่มหลงในลาภสักการะชื่อเสียงเกียรติยศ มักงมงายในบทบาทที่ สังคมสมมุติให้ บ้าอำนาจ ถือความเห็นตัวเองเป็นใหญ่ ไม่จัดระบบความคิด ทำให้เสมือนไม่มีความรู้ ไม่มีความเป็นผู้นำ สมาธิอ่อนและสั้นเบื่อง่าย อารมณ์อ่อนไหวง่ายใจน้อย 26.วิตกจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ อิริยาบถเฉไฉยืนหรือนั่งก็มีอาการบ่งเซ่อมีอาการการเหม่อลอยพิกล เดินโดยอาการเปะปะ ทอดเท้าดุจคนขย่มตัว รอยเท้าจิกลงไปทั้งปลาย เท้าและส้นเท้า ยามนอนก็ไม่น่าดู นอนวางมือเกะกะโดยไม่รู้ตัว จัดปูที่นอนก็ไม่เรียบร้อย มักชอบนอนคว่ำหน้า เมื่อเวลาถูกปลุกให้ลุก ลุกขึ้นอย่างเชื่องช้า หาวเรอ กระบิดกระบวน 27.วิตกจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ มักกระทำกิจไปโดยอาการหยาบ เหมือนกับไม่เต็มใจไม่มีความถี่ถ้วน หมักหมมคั่งค้างเอาดีอะไรไม่ค่อยได้ เช่นเมื่อทำการปัดกวาด จับไม้กวาด ก็จับไว้อย่างหลวม ๆ กวาดไม่สะอาด ไม่เรียบร้อย ปัดกวาดขยะที่ใกล้ประตูก่อน 28.วิตกจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีวิตกจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ ชอบใจในรสอาหารไม่แน่นอน เมื่อบริโภคก็ทำคำข้าวเล็ก ๆ บริโภคด้วยอาการมูมมาม เมล็ดข้าวตกเรี่ยราดเกลื่อนกลาด จิตใจฟุ้งซ่าน คิดไปบริโภคไป อย่างคนใจลอยคน 29.วิตกจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัส ของผู้ที่มีวิตกจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีโมหจริต คือ มักจะไม่มีทรรศนะต่อ รูปร่างของคนที่ได้พบ ซึมเซ่อไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยสนใจอะไรนั่นเอง เมื่อเห็นผู้อื่นมองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะมองตามผู้อื่นไปด้วย 30.วิตกจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีวิตกจริตยึดครอง ได้แก่ ภสฺสพหุลตา คือ ชอบรำพันถึงเรื่องไม่เป็นเรื่อง บางทีเรื่องเล็กนิดเดียว แต่คนวิตกจริตเก็บเอาไปคิด เก็บเอาไปรำพัน อยู่ได้นาน ๆ โดยไม่มีวันจบสิ้นอย่างน่ารำคาญหนึ่ง คณารามตา คือ เป็นคนชอบคลุกคลีกับหมู่คณะเห็นคนทั้งหลายเขารวมกลุ่มกันอยู่ที่ไหนก็มักจะพลอยเข้าไปรวมกลุ่มกับเขาด้วย แม้จะถูกเขาพูดจาล้อเลียนสบประมาท อย่างไรก็มิใส่ใจ ไม่ถือสาหาความหนึ่ง กุสลานุโยเค อรติ คือ เป็นคนมีความคิดเฉื่อยชาในการประกอบกุศลกรรม ความคิดริเริ่มอย่างแรงกล้า ในการที่จะทำบุญ บริจาคทาน รักษาศีลและเจริญภาวนาย่อมไม่เกิดมีในบุคคลประเภทวิตกจริตนั้นด้วยหนึ่ง อนวฏฺ ฐิตกิจฺจตา คือ เป็นคนจับจด ทำอะไรไม่เป็นชิ้นเป็นอัน ชอบพลุกพล่านไปทางโน้นทางนี้ เปลี่ยนงานเรื่อยไป ไม่มีที่สิ้นสุดหนึ่ง รตฺติธุมายนา คือ เป็นคนเข้าลักษณาการที่เรียกว่า "กลางคืนเป็นควัน" หมายถึงกลางคืนชอบคิดว่าตนจะทำอย่างนั้นอย่างนี้ คิดหาวิธีการ คิดวางโครงการแบบสร้างวิมานในอากาศอย่างใหญ่โตมโหฬาร คล้ายกับว่าตนจะเป็นเจ้าโลกในความคิดฝันหนึ่ง และ หุราหุรํธาวนา คือ เป็นคนเจ้าความคิด มักคิดพลุ่งพล่านไปในเรื่องอะไรต่อมิอะไรร้อยแปดพันเก้า จิตใจไม่ค่อยมีโอกาสที่จะสงบนิ่งลงได้เลยหนึ่ง 31.วิตกจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีวิตกจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ พูดเป็นน้ำไหลไฟดับ ถ้าเกิดความขลาดกลัวจะวิตกกังวลใจมาก ความคิดพวยพุ่ง ชอบคิดมากแต่ไม่มีเหตุผลฟุ้งซ่านในโลกความคิดไม่ใช่โลกความจริง มองโลกในแง่ร้ายคิดว่าคนอื่นจะเอาเปรียบกลั่นแกล้งตน หน้าบึ้งตึงไม่ค่อยยิ้ม เจ้ากี้เจ้าการ อัตตาสูงคิดว่าตัวเองเก่ง อยากรู้อยากเห็นไปทุกเรื่อง ผัดวันประกันพรุ่ง เป็นนักคิดระดับเยี่ยมยอด มองอะไรทะลุปรุโปร่งหลายชั้น เป็นนักพูดที่เก่งจูงใจคนได้ดี เป็นผู้นำหลายวงการ ชอบแหกกฎเกณฑ์ คิดนอกกรอบ ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆต่อสังคม ละเอียดรอบคอบ เจาะลึกในรายละเอียด เห็นความผิดเล็กความผิดน้อยที่คนอื่นไม่เห็น มองจุดเล็กลืมภาพใหญ่ เปลี่ยนแปลงความคิดตลอดเวลา เปลี่ยนจุดยืนกลับไปกลับมา ไม่รักษาสัญญา มีแต่ความคิด ไม่มีความรู้สึกไม่มีวิจารณญาณ ลังแล ตัดสินใจไม่เด็ดขาด ไม่กล้าตัดสินใจ มักตัดสินใจผิดพลาด มักทะเลาวิวาท ทำร้ายจิตใจผู้อื่น เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น มีความทุกข์ เพราะเห็นแต่ปัญหา แต่หาทางแก้ไม่ได้ 32.ศรัทธาจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีศรัทธาจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ มีอิริยาบถพอดีพองาม ไม่เร็วไม่ช้า มีกิริยาท่าทางชดช้อย ยามจะยืนหรือนั่งก็น่าดู มีอาการละมุนละม่อม เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยกเท้าขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรอยเท้ากระโหย่ง เดินโดยกิริยาปรกติ ค่อยๆวางเท้าลงและยกขึ้น วางเท้าลงอย่างสม่ำเสมอ ยกเท้าขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรอยเท้ากระโหย่ง ยามจะนอนก็ไม่รีบร้อน ค่อยปูที่นอนให้เรียบเสมอ ค่อย ๆ เอนตัวลงนอน วางอวัยวะส่วนต่าง ๆ เรียบร้อยและน่าดู เมื่อถูกปลุกให้ลุกขึ้น ก็ลุกขึ้นโดยไม่ผลุนผลัน 33.ศรัทธาจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีศรัทธาจริต ซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ ตั้งอกตั้งใจทำกิจวัตรอย่างเรียบร้อย เช่นการกวาดบ้านเป็นต้น จับไม้กวาดอย่างเรียบร้อย ไม่รีบร้อนไม่คุ้ยดินคุ้ยทราย ให้เป็นขุยเรี่ยราดกลาดเกลื่อน กวาดสะอาดเรียบร้อย 34.ศรัทธาจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีศรัทธาจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ ชอบใจในอาหารอันละมุน ละไม มีรสอร่อยสนิทหวานมัน ทำคำข้าวให้กลมกล่อมพอเหมาะพอควร บริโภคอาหาร คำไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป เป็นนักชิม ชอบลิ้มรสแปลกๆ บริโภคไปโดยอาการอันไม่รีบร้อน 35.ศรัทธาจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสของผู้ที่มีศรัทธาจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีราคจริต คือ พอใจในรูปสวย ชอบฟังเสียงไพเราะ ชอบดมกลิ่นหอม ชอบลิ้มรสดีรสอร่อย และชอบสัมผัสที่ละเอียดอ่อน 36.ศรัทธาจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีศรัทธาจริตยึดครอง ได้แก่ มุตฺตจาคตา คือ เป็นคนยอมเสียสละ จึงไม่มีความกังวลห่วงใยในสิ่งทั้งปวงหนึ่ง อริยานํ ทสฺสนกามตา คือ เป็นคนมีศรัทธาอันแรงกล้าปรารถนา ที่จักได้พบเห็นพระอริยเจ้าทั้งหลายอย่างยิ่งยวดหนึ่ง สทฺธมฺมโสตุกามตา คือ เป็นคนมีความปรารถนาที่จักได้สดับรสพระธรรมเทศนา อันมีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกับพระนิพพาน ซึ่งเป็นเรื่องที่โน้มน้าวใจ ตนให้หลุดพ้นจากกองทุกข์ในห้วงทะเลใหญ่ที่เรียกว่าวัฏสงสารหนึ่ง ปาโมชฺชพหุลตา คือ เป็นคนที่มากไปด้วยความปรีดาปราโมทย์ เป็นยิ่งนัก ในเมื่อได้มีโอกาสพบเห็นพระอริยเจ้าและได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาแล้วหนึ่ง อสฐตา คือ เป็นคนไม่โอ้อวด ไม่มีนิสัยพูดพล่อยหนึ่ง อมายาวิตา คือ เป็นคนไม่มีเล่ห์ไม่มีมายาหนึ่ง และปสาโท คือ เป็นคนมีความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย หรือในท่านผู้มีพระคุณเช่นมารดาบิดาครูบาอาจารย์อย่างแท้จริงหนึ่ง 37.ศรัทธาจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีศรัทธาจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ ยึดมั่นอย่างแรงกล้าในบุคคล หลักการหรือความเชื่อถือและความศรัทธา เชื่อโดยไร้เหตุผล กลัวคนนินทา ชอบช่วยเหลือผู้อ่อนแอกว่า คิดว่าตัวเองเป็นคนดี น่าศรัทธา ประเสริฐกว่าคนอื่น ชอบเพื่อน ชอบร่วมกลุ่ม พวกมากลากไป เป็นคนจริงจัง พูดมีหลักการ มีพลังจิตสูงและเข้มแข็ง พร้อมที่จะเสียสละเพื่อผู้อื่น ต้องการเปลี่ยนแปลงตัวเองและสังคมไปสู่สภาพที่ดีกว่าเดิม มีพลังขับเคลื่อนมหาศาล เป็นคนมีอิทธิพลต่อมวลชน มีลักษณะความเป็นผู้นำแต่หูเบา ถูกหลอกได้ง่าย ความเชื่ออยู่เหนือเหตุผล ยิ่งศรัทธามาก ปัญญายิ่งลดน้อยลง หนักไปทางเชื่อถือจริงใจ จิตใจคับแคบ ไม่ยอมรับความคิดที่แตกต่าง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตนคิดว่าถูกต้องสามารถทำได้ทุกอย่างแม้แต่ใช้ความรุนแรง และไม่ประนีประนอม มองโลกเป็นขาวและดำ 38.พุทธิจริตอิริยาบถ หมายถึง อิริยาบถของผู้ที่มีพุทธิจริตซึ่งมีอิริยาบถเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ เป็นผู้มีอิริยาบถฉับไว ยามเมื่อยืนหรือนั่ง มีกิริยากระด้างไม่น่าดู ปราศจากเหตุผล เดินไปประดุจจิกปลายเท้า วางเท้าเร็วและยกเท้าก็เร็ว รอยเท้าปลายเท้าจิกลง เดินเร็ว เดินแรง เมื่อจะนอนมีอาการรีบร้อน จัดที่นอนไม่ประณีต นอนขวางทางเกะกะคนอื่น โดยไม่เกรงใจใคร เมื่อถูกปลุกให้ลุกก็ทะลึ่ง ลุกขึ้นอย่างผลุนผลัน มีอาการดุเดือด หน้าบูดบึ้ง 39.พุทธิจริตกิจวัตร หมายถึง กิจวัตรของผู้ที่มีพุทธิจริต ซึ่งมีกิจวัตรเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ ทำกิจกรรมอย่างรีบเร่ง แต่ได้ผลสำเร็จที่ไม่สวยงาม เช่นเมื่อทำการปัดกวาดที่อยู่ อาศัย ก็ตั้งหน้าตั้งตากวาด อย่างเข้มแข็ง มือกำไม้กวาดไว้แน่น ท่าทางขึงขัง กวาดไปอย่างรีบร้อนสะอาดเป็นย่อมๆ 40.พุทธิจริตโภชนะ หมายถึง การรับประทานของผู้ที่มีพุทธิจริต ซึ่งอาหารที่รับประทานเป็นเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสจริต คือ ชอบใจในอาหารหยาบ ๆ มีรสจัด เช่นเปรี้ยวจัดเค็มจัด ขมจัด ฝาดจัด ทำคำข้าวโตจนคับปาก บริโภคไปด้วยอาการอันรีบร้อน 41.พุทธิจริตทรรศนะ หมายถึง สิ่งที่พอใจในการได้มองเห็น ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้ลิ้มรส ได้สัมผัสของผู้ที่มีพุทธิจริตซึ่งมีทรรศนะเช่นเดียวกับผู้ที่มีโทสะจริต คือ พอใจเมื่อมองเห็นรูปสวย พอใจเมื่อได้ฟังเสียงที่ไพเราะ พอใจเมื่อดมกลิ่นที่ต้องใจ พอใจเมื่อลิ้มรสที่ต้องใจ พอใจเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ละมุนละม่อม 42.พุทธิจริตธรรม หมายถึง ธรรมะของผู้ที่มีพุทธิจริตยึดครอง ได้แก่ โสวจสฺสตา คือ เป็นคนว่านอนสอนง่าย ยอมรับฟังคำแนะนำสั่งสอนที่มีประโยชน์ด้วยดี ถึงแม้ท่านผู้สั่งสอนนั้น จะไม่ใช่เป็นบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหายก็ตาม หากคำตักเตือนแนะนำนั้นประกอบ ด้วยประโยชน์เกื้อกูล และความดีงามแก่ตนแล้ว ก็ยอมรับเอาทั้งสิ้นหนึ่ง กลฺยาณมิตฺตตา คือ เป็นคนมีปัญญาเลือกคบเอาแต่คนดีเป็นเพื่อนไม่ปรารถนาที่จักคบพาลชนคนเลว หากว่าเป็นคนดีแล้วก็ยอมรับเอาเป็นมิตรตน ในทันทีทันใด โดยไม่มีการเลือกชั้นวรรณะว่าไพร่ผู้ดีหนึ่ง โภชเนมตฺตญฺญุตา คือ เป็นคนมีปัญญารู้จักประมาณในการรับอาหารที่เขาให้ และรู้จักประมาณในการบริโภคไม่มีความประมาท ไม่มีความปรารถนาใหญ่จนเกิดทุกข์ภัยแก่ตัวหนึ่ง สติสมฺปชญฺญํ คือ เป็นคนระวังตัว จะทำอะไรก็คิดหน้าคิดหลังประกอบไปด้วยสติสัมปชัญญะในที่ทุกสถานและในกาลทุกเมื่อหนึ่ง ชาคริยานุโยโค คือ เป็นคนไม่มีความเกียจคร้านหมั่นประกอบความเพียร มีจิตใจตื่นอยู่เป็นนิตย์ในกิจที่ดีงามหนึ่ง สํเวโค คือ เป็นคนมีปัญญา มักเกิดความสังเวชใจและเกิดความเบื่อหน่ายในกิริยาที่ตนจะต้องท่องเที่ยวไปในวัฏสงสาร เห็นทุกข์โทษมหาศาลในการที่ตนจะต้องประสบกับความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไปโดยไม่มีวันสิ้นสุดหนึ่ง และโยนิโสปธานํ คือ เป็นคนมีปัญญาปรารถนาที่จะพันจากกองทุกข์ จึงหมั่นประกอบความเพียรโดยเหมาะโดยควร คือหมั่นสร้างสม อบรมคุณงามความดีให้เกิดมีขึ้นกับตนโดยการให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาเพื่อให้ได้ประสบคติที่ดีงามในภพหน้า ชาติหน้า ต่อ ๆ ไปในอนาคตกาล จนกว่าจะถึงแดนนิพพานหนึ่ง 43.พุทธิจริตลักษณะ หมายถึงลักษณะอันพึงสังเกตได้ 3 ประการของผู้ที่มีพุทธิจริต ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ได้แก่ เจ้าปัญญาเจ้าความคิด มีความฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบความทรงจำดี มองเรื่องต่างๆ ตามสภาพความเป็นจริงไม่ปรุงแต่ง พร้อมรับความคิดที่แตกต่างไปจากของตนเอง ใฝ่เรียนรู้ ช่างสังเกต มีความเมตตาเป็นกัลยาณมิตร ไม่เอาเปรียบคน หน้าตาผ่องใส ตาเป็นประกาย ไม่ทุกข์ ถือหลักการ อนุรักษ์นิยม ชอบสั่งสอนคนอื่น อัตตาต่ำ เปิดใจรับข้อเท็จจริง จิตอยู่ในปัจจุบัน ไม่จมปลักในอดีต และไม่กังวลในสิ่งที่จะเกิดในอนาคต พัฒนาปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ มีความเฉื่อย ไม่ต้องการพัฒนาจิตวิญญาณ ชีวิตราบรื่นมาตลอด หากต้องเผชิญพลังด้านลบ อาจเอาตัวไม่รอด และไม่มีความเป็นผู้นำ จิตไม่มีพลังพอที่จะดึงดูดคนให้คล้อยตาม ขอจงนำลักษณะของมนุษย์ทั้ง 6 ประเภทประไปยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันเพื่อเปิดใจยอมรับถึงความแตกต่างของปัจเจกชน