ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินัย ทองสอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: '''พลตำรวจโท วินัย ทองสอง''' ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน ...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิง[[พจมาน ชินวัตร]] ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ขณะที่เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]]เกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสาย[[โทรศัพท์]]จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่[[นครนิวยอร์ก]] ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[องคมนตรี]] ถึงที่[[บ้านสี่เสาเทเวศน์]] อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและ[[รถถัง]]เข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย<ref>[http://www.positioningmag.com/magazine/printnews.aspx?id=70451 "พลเอกเปรม ติณสูลานนท์" เสาหลักการเมืองไทย ]</ref><ref>กองบรรณาธิการมติชน. ''รัฐประหาร 19 กันยา '49 เรียบแต่ลึก''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549. ISBN 947-323-851-4 </ref>
พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิง[[พจมาน ชินวัตร]] ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ขณะที่เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]]เกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสาย[[โทรศัพท์]]จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่[[นครนิวยอร์ก]] ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[องคมนตรี]] ถึงที่[[บ้านสี่เสาเทเวศน์]] อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและ[[รถถัง]]เข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย<ref>[http://www.positioningmag.com/magazine/printnews.aspx?id=70451 "พลเอกเปรม ติณสูลานนท์" เสาหลักการเมืองไทย ]</ref><ref>กองบรรณาธิการมติชน. ''รัฐประหาร 19 กันยา '49 เรียบแต่ลึก''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549. ISBN 947-323-851-4 </ref>


ต่อมาในกลางปี [[พ.ศ. 2554]] พล.ต.ท.วินัย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.[[จักรทิพย์ ชัยจินดา]] ที่ได้รับคำสั่งโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 8 แทน<ref>[http://www.thairath.co.th/people/view/pol/7826 วินัย ทองสอง จาก[[ไทยรัฐ]]]</ref> <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9540000134748&TabID=2& กลั่นกรองนายพลฉลุย เด็ก “เพื่อไทย” ยึดเก้าอี้สำคัญ! จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>
ต่อมาในกลางปี [[พ.ศ. 2554]] พล.ต.ท.วินัย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.[[จักรทิพย์ ชัยจินดา]] ที่ได้รับคำสั่งโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 แทน<ref>[http://www.thairath.co.th/people/view/pol/7826 วินัย ทองสอง จาก[[ไทยรัฐ]]]</ref> <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9540000134748&TabID=2& กลั่นกรองนายพลฉลุย เด็ก “เพื่อไทย” ยึดเก้าอี้สำคัญ! จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:19, 15 กุมภาพันธ์ 2555

พลตำรวจโท วินัย ทองสอง ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลคนปัจจุบัน

เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2500 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 32 (นรต.32) เริ่มรับราชการด้วยการเป็นนายเวรผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 จังหวัดยะลา จนกระทั่งดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจกองปราบปราม ในปี พ.ศ. 2547 ด้วยยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในยุครัฐบาลที่มีพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี

พล.ต.ท.วินัย ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจที่มีความสนิทสนมและเกี่ยวพันกับตระกูลชินวัตร เนื่องจากภริยามีศักดิ์เป็นหลานสาวของ คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภริยาของ พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งในคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ขณะที่เกิดการรัฐประหารเกิดขึ้น พล.ต.ท.วินัย ซึ่งในขณะนั้นมีตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองปราบฯ ได้รับคำสั่งทางสายโทรศัพท์จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่นครนิวยอร์ก ให้นำกองกำลังเข้าทำการควบคุมตัว พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ถึงที่บ้านสี่เสาเทเวศน์ อันเป็นบ้านพักส่วนตัว แต่ยังมิทันได้ดำเนินการ เนื่องมีกองกำลังทหารและรถถังเข้าอารักขาไว้หมดแล้ว และในคืนวันนั้น พล.ต.ท.วินัย เองก็ถูกควบคุมตัวด้วย[1][2]

ต่อมาในกลางปี พ.ศ. 2554 พล.ต.ท.วินัย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.จักรทิพย์ ชัยจินดา ที่ได้รับคำสั่งโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 แทน[3] [4]

อ้างอิง