ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามจีน–พม่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| combatant2 = [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|border|25px]] [[ราชวงศ์คองบอง]]
| combatant2 = [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|border|25px]] [[ราชวงศ์คองบอง]]
| combatant3 =
| combatant3 =
| commander1 = [[จักรพรรดิเฉียนหลง]]
| commander1 = [[เฉียนหลง]][[ฮ่องเต้]]
| commander2 = [[พระเจ้ามังระ]]<br>[[อะแซหวุ่นกี้]]
| commander2 = [[พระเจ้ามังระ]]<br>[[อะแซหวุ่นกี้]]
| commander3 =
| commander3 =
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
'''สงครามจีน-พม่า''' ({{lang-my|တရုတ်-မြန်မာ စစ်}}, {{lang-zh|中緬戰爭, 清緬戰爭}}) หรือ '''การรุกรานพม่าของราชวงศ์ชิง''' (Qing invasions of Burma) หรือ '''การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง''' (Myanmar campaign of the Qing Dynasty){{Sfn|Dai|2004|p=145}}
'''สงครามจีน-พม่า''' ({{lang-my|တရုတ်-မြန်မာ စစ်}}, {{lang-zh|中緬戰爭, 清緬戰爭}}) หรือ '''การรุกรานพม่าของราชวงศ์ชิง''' (Qing invasions of Burma) หรือ '''การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง''' (Myanmar campaign of the Qing Dynasty){{Sfn|Dai|2004|p=145}}


เป็น[[การสงคราม]]ระหว่าง[[จีน]] แห่งยุค[[ราชวงศ์ชิง]] และ[[พม่า]] แห่งยุค[[ราชวงศ์คองบอง]] กินระยะเวลานาน 4 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1765-1769 ตรงกับรัชสมัย[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] กับ[[พระเจ้ามังระ]]
เป็น[[การสงคราม]]ระหว่าง[[จีน]] แห่งยุค[[ราชวงศ์ชิง]] และ[[พม่า]] แห่งยุค[[ราชวงศ์คองบอง]] กินระยะเวลานาน 4 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1765-1769 ตรงกับรัชสมัย[[เฉียนหลง]][[ฮ่องเต้]] กับ[[พระเจ้ามังระ]] หรือพระเจ้าเซงพยูเชง


การสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] ใน ค.ศ. 1767 ที่[[อาณาจักรอยุธยา]]สูญเสียเอกราชจนไม่เหลือสภาพเดิมแก่ราชวงศ์คองบองของพม่า ในพงศาวดารพม่าระบุว่า พระเจ้ามังระมีพระราชสาส์นให้นายทหารและแม่ทัพในสงครามคราวนี่เร่งรีบกระทำการ และรีบเดินทางกลับพระนคร[[อังวะ]] เพื่อที่จะเตรียมการรับสงครามคราวนี้<ref>เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] [[วีระ ธีรภัทร]] (เมษายน พ.ศ. 2544)</ref><ref>ดนัย ไชยโยค. หน้า 87.</ref>
การสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] ใน ค.ศ. 1767 ที่[[อาณาจักรอยุธยา]]สูญเสียเอกราชจนไม่เหลือสภาพเดิมแก่ราชวงศ์คองบองของพม่า ในพงศาวดารพม่าระบุว่า พระเจ้ามังระมีพระราชสาส์นให้นายทหารและแม่ทัพในสงครามคราวนี่เร่งรีบกระทำการ และรีบเดินทางกลับพระนคร[[อังวะ]] เพื่อที่จะเตรียมการรับสงครามคราวนี้<ref>เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] [[วีระ ธีรภัทร]] (เมษายน พ.ศ. 2544)</ref><ref>ดนัย ไชยโยค. หน้า 87.</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:52, 15 กุมภาพันธ์ 2555

สงครามจีน-พม่า
ส่วนหนึ่งของ การศึกยิ่งใหญ่สิบประการ

แผนที่จำลองบริเวณที่เกิดสงครามในช่วงระยะเวลา ค.ศ. 1767-1768
วันที่ค.ศ. 1765-1769
สถานที่
มณฑลยูนนาน, รัฐฉาน, รัฐกะฉิ่น, พม่าตอนบน (ในปัจจุบัน)
ผล พม่าได้รับชัยชนะ, สงครามสิ้นสุดด้วยสนธิสัญญากวนตง, สยามฉวยโอกาสสถาปนาอาณาจักรธนบุรีขึ้นมาใหม่
คู่สงคราม
ราชวงศ์ชิง ราชวงศ์คองบอง
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เฉียนหลงฮ่องเต้ พระเจ้ามังระ
อะแซหวุ่นกี้
กำลัง
กองทัพแปดกองธง
70,000 (ประเมิน)
ไม่ทราบ

สงครามจีน-พม่า (พม่า: တရုတ်-မြန်မာ စစ်, จีน: 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การรุกรานพม่าของราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma) หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Myanmar campaign of the Qing Dynasty)[1]

เป็นการสงครามระหว่างจีน แห่งยุคราชวงศ์ชิง และพม่า แห่งยุคราชวงศ์คองบอง กินระยะเวลานาน 4 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1765-1769 ตรงกับรัชสมัยเฉียนหลงฮ่องเต้ กับพระเจ้ามังระ หรือพระเจ้าเซงพยูเชง

การสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ใน ค.ศ. 1767 ที่อาณาจักรอยุธยาสูญเสียเอกราชจนไม่เหลือสภาพเดิมแก่ราชวงศ์คองบองของพม่า ในพงศาวดารพม่าระบุว่า พระเจ้ามังระมีพระราชสาส์นให้นายทหารและแม่ทัพในสงครามคราวนี่เร่งรีบกระทำการ และรีบเดินทางกลับพระนครอังวะ เพื่อที่จะเตรียมการรับสงครามคราวนี้[2][3]

เหตุแห่งสงคราม มีที่มาจากพรมแดนระหว่างจีนกับพม่าทางมณฑลยูนนาน ในปัจจุบัน ซึ่งเคยมีปัญหามาก่อนตั้งแต่ยุคพระเจ้าบุเรงนอง แห่งราชวงศ์ตองอู โดยที่จีนได้ส่งกองทหารรุกเข้าไปได้ลึกพอสมควรในดินแดนของพม่า มีการศึกใหญ่ ๆ ทั้งสิ้น 4 ครั้ง ก่อนที่ทางฝ่ายจีนจะพ่ายแพ้ล่าถอยออกไป และบทสรุปของสงคราม ลงท้ายด้วยการเจรจา และทำสนธิสัญญากวงตง โดยยึดเอาแนวเขตพรมแดนเดิม [4] ซึ่งสงครามครั้งนี้ ได้ทำให้ อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพฝ่ายพม่าได้มีชื่อเสียงขึ้นมา ก่อนจะมีบทบาทต่อมาอีกในทางการเมืองและสงครามภายหลังอีกหลายครั้ง[5]

อ้างอิง

  1. Dai 2004, p. 145.
  2. เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ วีระ ธีรภัทร (เมษายน พ.ศ. 2544)
  3. ดนัย ไชยโยค. หน้า 87.
  4. Woodside 2002, pp. 256–262.
  5. Ba Than (1951) (in Burmese). History of Burma (7th ed.). Yangon: Sarpay Beikman Press