ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
ขณะเรียนอยู่ที่คณะมนุษยศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ได้ทำกิจกรรมด้านบันเทิงกับคณะมาโดยตลอด เช่น [[ละครเวที]] เป็นต้น และเคยเข้าประกวดร้องเพลงกับ[[สยามกลการ]]<ref>บทสัมภาษณ์จาก[[นิตยสาร]] ''ทีวี แมกกาซีน'' ([[พ.ศ. 2539]])</ref>
ขณะเรียนอยู่ที่คณะมนุษยศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ได้ทำกิจกรรมด้านบันเทิงกับคณะมาโดยตลอด เช่น [[ละครเวที]] เป็นต้น และเคยเข้าประกวดร้องเพลงกับ[[สยามกลการ]]<ref>บทสัมภาษณ์จาก[[นิตยสาร]] ''ทีวี แมกกาซีน'' ([[พ.ศ. 2539]])</ref>


ธรรพ์ณธร มีชื่อเสียงจากการออกอัลบั้มชุดแรกในปี [[พ.ศ. 2538]] ด้วยการออกเป็นมินิอัลบั้ม มี [[สุธี แสงเสรีชน]] เป็นโปรดิวเซอร์ ในชื่อชุด TNT มีความหมายถึง[[อักษรย่อ|ชื่อย่อ]]ใน[[ภาษาอังกฤษ]]ของตัวเอง อีกทั้งยังเกี่ยวเนื่องถึงงานที่พ่อทำเกี่ยวกับ[[ระเบิด]]ด้วย มีเพลงที่ได้รับความนิยม คือ ''ร้อน, ร่ำลา'' และ ''เกิดเป็นผู้ชาย'' ซึ่งเป็นเพลงเก่าของสุธีด้วย และออกเป็นอัลบั้มเต็มในปี [[พ.ศ. 2539]] ซึ่งทำให้ได้รับรางวัล[[สีสันอะวอร์ดส]] สาขา ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม และศิลปินชายร็อคยอดเยี่ยมประจำปี ด้วย
ธรรพ์ณธร มีชื่อเสียงจากการออกอัลบั้มชุดแรกในปี [[พ.ศ. 2538]] ด้วยการออกเป็นมินิอัลบั้ม มี [[สุธี แสงเสรีชน]] เป็นโปรดิวเซอร์ ในชื่อชุด "TNT" มีความหมายถึง[[อักษรย่อ|ชื่อย่อ]]ใน[[ภาษาอังกฤษ]]ของตัวเอง อีกทั้งยังเกี่ยวเนื่องถึงงานที่พ่อทำเกี่ยวกับ[[ระเบิด]]ด้วย มีเพลงที่ได้รับความนิยม คือ ''ร้อน, ร่ำลา'' และ ''เกิดเป็นผู้ชาย'' ซึ่งเป็นเพลงเก่าของสุธีด้วย และออกเป็นอัลบั้มเต็มในปี [[พ.ศ. 2539]] ซึ่งทำให้ได้รับรางวัล[[สีสันอะวอร์ดส์]] สาขา ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม และศิลปินชายร็อคยอดเยี่ยมประจำปี ด้วย


ธรรพ์ณธร มีเสียงสูงและน้ำเสียงที่คล้ายคลึงกับ [[สุรัช ทับวัง|เป้ ไฮ-ร็อก]] แต่ทว่ามีพลังเสียงที่หนักแน่นกว่า ผลงานเพลงในระยะแรกจึงออกไปในทางหนักหน่วง เป็น[[ร็อก]]และ[[บลูส์]]
ธรรพ์ณธร มีเสียงสูงและน้ำเสียงที่คล้ายคลึงกับ [[สุรัช ทับวัง|เป้ ไฮ-ร็อก]] แต่ทว่ามีพลังเสียงที่หนักแน่นกว่า ผลงานเพลงในระยะแรกจึงออกไปในทางหนักหน่วง เป็น[[ร็อก]]และ[[บลูส์]]
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
จากนั้นจึงได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท [[นฤมล จิวังกูร]] นักร้องสาวร่วมค่ายในชื่อชุด "Fire & Ice" ในปี [[พ.ศ. 2543]] และได้ออกอัลบั้มกับอาร์.เอส.มาอีกหลายชุด รวมทั้งได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท นฤมล อีกชุดหนึ่งด้วย คือ "แสงและเงา" ในปี [[พ.ศ. 2546]]
จากนั้นจึงได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท [[นฤมล จิวังกูร]] นักร้องสาวร่วมค่ายในชื่อชุด "Fire & Ice" ในปี [[พ.ศ. 2543]] และได้ออกอัลบั้มกับอาร์.เอส.มาอีกหลายชุด รวมทั้งได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท นฤมล อีกชุดหนึ่งด้วย คือ "แสงและเงา" ในปี [[พ.ศ. 2546]]


ปัจจุบัน ได้ย้ายเข้าสังกัด[[แกรมมี่]] และได้ออกอัลบั้มมาหนึ่งชุดในปี [[พ.ศ. 2548]] โดยเป็นการนำเอาเพลงเก่า ๆ ที่ได้รับความนิยมมาร้องใหม่ในแบบของตน<ref>[http://entertainment.thaiza.com/%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B9%8C%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B8%A3%20%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%20%E0%B8%93%20%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2_1313_1480_1313.html ธรรพ์ณธร ปาละกะวงศ์ ณ อยุธยา]</ref>
ปัจจุบัน ได้ย้ายเข้าสังกัด[[แกรมมี่]] และได้ออกอัลบั้มมาหนึ่งชุดในปี [[พ.ศ. 2548]] โดยเป็นการนำเอาเพลงเก่า ๆ ที่ได้รับความนิยมมาร้องใหม่ในแบบของตน<ref>[http://entertainment.thaiza.com/%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B9%8C%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B8%A3%20%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%20%E0%B8%93%20%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2_1313_1480_1313.html ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา]</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:35, 14 กุมภาพันธ์ 2555

ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
ไฟล์:Thaistar94.jpg
ข้อมูลพื้นฐาน
ชื่อเกิดธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
เกิด10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 (53 ปี)
แนวเพลงร็อก, ป็อป, บลูส์, ป็อปร็อก
อาชีพนักร้อง
ช่วงปีพ.ศ. 2538—ปัจจุบัน
ค่ายเพลงอาร์.เอส.โปรโมชั่น
อากู (ในเครือแกรมมี่)

ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีชื่อเล่นว่า อู๋ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 โดยเป็นบุตรชายของพ่อซึ่งเป็นทหารบกฝ่ายสรรพาวุธ ชื่อ "ธรรพ์ณธร" มีความหมายว่า ผู้ที่รักษาไว้ซึ่งเสียงเพลง (คนธรรพ์ สมาสกับคำว่า ธร ซึ่งแปลว่า รักษา)[1]

ขณะเรียนอยู่ที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ทำกิจกรรมด้านบันเทิงกับคณะมาโดยตลอด เช่น ละครเวที เป็นต้น และเคยเข้าประกวดร้องเพลงกับสยามกลการ[2]

ธรรพ์ณธร มีชื่อเสียงจากการออกอัลบั้มชุดแรกในปี พ.ศ. 2538 ด้วยการออกเป็นมินิอัลบั้ม มี สุธี แสงเสรีชน เป็นโปรดิวเซอร์ ในชื่อชุด "TNT" มีความหมายถึงชื่อย่อในภาษาอังกฤษของตัวเอง อีกทั้งยังเกี่ยวเนื่องถึงงานที่พ่อทำเกี่ยวกับระเบิดด้วย มีเพลงที่ได้รับความนิยม คือ ร้อน, ร่ำลา และ เกิดเป็นผู้ชาย ซึ่งเป็นเพลงเก่าของสุธีด้วย และออกเป็นอัลบั้มเต็มในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งทำให้ได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ สาขา ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม และศิลปินชายร็อคยอดเยี่ยมประจำปี ด้วย

ธรรพ์ณธร มีเสียงสูงและน้ำเสียงที่คล้ายคลึงกับ เป้ ไฮ-ร็อก แต่ทว่ามีพลังเสียงที่หนักแน่นกว่า ผลงานเพลงในระยะแรกจึงออกไปในทางหนักหน่วง เป็นร็อกและบลูส์

ในปี พ.ศ. 2542 ได้ย้ายมาสังกัดกับค่าย อาร์.เอส. โปรโมชั่น ใช้ชื่อว่า "คนธรรพ์ณธร" มีเพลงที่ได้รับความนิยมคือ หัวใจกระดาษ, ฉีดยา เป็นต้น โดยลดความหนักแน่นลงเป็นป็อปร็อก และได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส สาขา ศิลปินชายร็อคยอดเยี่ยมประจำปี อีกครั้ง

จากนั้นจึงได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท นฤมล จิวังกูร นักร้องสาวร่วมค่ายในชื่อชุด "Fire & Ice" ในปี พ.ศ. 2543 และได้ออกอัลบั้มกับอาร์.เอส.มาอีกหลายชุด รวมทั้งได้ออกอัลบั้มร่วมกับ โฟร์ท นฤมล อีกชุดหนึ่งด้วย คือ "แสงและเงา" ในปี พ.ศ. 2546

ปัจจุบัน ได้ย้ายเข้าสังกัดแกรมมี่ และได้ออกอัลบั้มมาหนึ่งชุดในปี พ.ศ. 2548 โดยเป็นการนำเอาเพลงเก่า ๆ ที่ได้รับความนิยมมาร้องใหม่ในแบบของตน[3]

อ้างอิง

  1. ข้อมูลปกอัลบั้ม "TNT"
  2. บทสัมภาษณ์จากนิตยสาร ทีวี แมกกาซีน (พ.ศ. 2539)
  3. ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา

แหล่งข้อมูลอื่น