ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RxAlchemiste (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
RxAlchemiste (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ชื่ออื่น|ชาวไท-ล้านนา|ไทเหนือ ซึ่งอาศัยในเขตเต๋อหง มณฑลยูนนาน|ไทเหนือ}}
{{ชื่ออื่น|ชาวไท-ล้านนา|ไทเหนือ ซึ่งอาศัยในเขตเต๋อหง มณฑลยูนนาน|ไทเหนือ}}


'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทย ในอดีตคนล้านนามีหลายกลุ่มชาติพันธุ์แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไทยวน ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น ยวน ไต หรือ ไท และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลังในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังหัวเมืองของตน
'''ไทยวน''' (อ่านว่า ''ไท-ยวน'') เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทย ในอดีตคนล้านนามีหลายกลุ่มชาติพันธุ์แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ "ไทยวน" ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน ไต หรือ ไท" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลังในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน


ในปี [[พ.ศ. 2454]] แดเนียล แม็คกิลวารี ซึ่งทำงานเผยแพร[[คริสต์ศาสนา]]ในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว เรียกคนในล้านนาว่าคนลาว เรียกตั๋วเมืองว่าเป็นภาษาลาว และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่าลาว ในงานเรื่อง ชนชาติไท ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็นคนยวน มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวจ่างขาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยุ๋ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่าง จากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
ในปี [[พ.ศ. 2454]] "แดเนียล แม็คกิลวารี" ซึ่งทำงานเผยแพร[[คริสต์ศาสนา]]ในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว" เรียกคนในล้านนาว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมืองว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 "วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์" มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป


โดยในอดีตชาวไทย มักจะเข้าใจว่าชาวล้านนามีภาษา และวัฒนธรรมใกล้เคียงกับ[[ชาวลาว]] จึงมีทัศนะว่าชาวล้านนาเป็นคนลาว ดังนั้นการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] จึงจัดให้หัวเมืองล้านนาอยู่ในมณฑลพายัพ หรือลาวเฉียง และมณฑลมหาราษฎร์ จนเมื่อมีการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางแล้ว ชาวไทยจึงได้หล่อหลอมให้ชาวล้านนาเป็น[[ชาวไทย]] โดยใช้ระบบการศึกษาเข้าช่วยสร้างสามัญสำนึกเป็นคนไทยได้อย่างรวดเร็ว
โดยในอดีตชาวไทย มักจะเข้าใจว่าชาวล้านนามีภาษาและวัฒนธรรมใกล้เคียงกับ[[ชาวลาว]] จึงมีทัศนะว่าชาวล้านนาเป็นคนลาว ดังนั้นการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] จึงจัดให้หัวเมืองล้านนาอยู่ใน "มณฑลพายัพ หรือลาวเฉียง และมณฑลมหาราษฎร์" จนเมื่อมีการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางแล้ว ชาวไทยจึงได้หล่อหลอมให้ชาวล้านนาเป็น[[ชาวไทย]] โดยใช้ระบบการศึกษาเข้าช่วยสร้างสามัญสำนึกเป็นคนไทยได้อย่างรวดเร็ว


ส่วนทางฝรั่งอธิบายว่าเป็นพวก[[ล้านนา]] ซึ่งระบุเมือง[[เชียงราย]] [[เชียงของ]] [[เชียงแสน]]รวมความว่าแคว้นโยนกโบราณซึ่งกลายมาเป็นลานนาในภายหลัง แบ่งกันอีกอย่างหนึ่งว่าพวกอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเป็นลาวล้านช้าง ส่วนฝั่งขวาคือไทล้านนานอกจากนี้ยังแบ่งอีกว่าลาวพุงขาว ลาวพุงดำ พวกล้านช้างเป็นลาวพุงขาว เพราะพวกนี้แม่นิยมสักตามตัว ก็สักแต่ขาตัวตัว ไม่สักที่พุง แต่ไทล้านนา ได้ความว่าชอบสักที่พุง จึงเรียกว่า ลาวพุงดำ
ส่วนทางฝรั่งอธิบายว่าเป็นพวก[[ล้านนา]] ซึ่งระบุเมือง[[เชียงราย]] [[เชียงของ]] [[เชียงแสน]]รวมความว่าแคว้นโยนกโบราณซึ่งกลายมาเป็นล้านนาในภายหลัง แบ่งกันอีกอย่างหนึ่งว่าพวกอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเป็น ลาวล้านช้าง ส่วนฝั่งขวาคือ ไทล้านนา นอกจากนี้ยังแบ่งอีกว่า ลาวพุงขาว ลาวพุงดำ พวกล้านช้างเป็น ลาวพุงขาว เพราะพวกนี้แม่นิยมสักตามตัว ก็สักแต่ขาตัวตัว ไม่สักที่พุง แต่ไทล้านนา ได้ความว่าชอบสักที่พุง จึงเรียกว่า ลาวพุงดำ


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[คำเมืองหรือกำเมือง]] ภาษาที่ชาวล้านนาใช้สื่อสารกัน
* [[คำเมือง]] ภาษาที่ชาวล้านนาใช้สื่อสารกัน
* [[ราชวงศ์เม็งรายหรือมังราย]] ปฐมบรมราชวงศ์แห่งอาณาจักรล้านนา
* [[ราชวงศ์มังราย]] ปฐมบรมราชวงศ์แห่งอาณาจักรล้านนา
* [[อาณาจักรล้านนา]] อาณาจักรของชาวล้านนา
* [[อาณาจักรล้านนา]] อาณาจักรของชาวล้านนา



รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:22, 11 กุมภาพันธ์ 2555

ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทย ในอดีตคนล้านนามีหลายกลุ่มชาติพันธุ์แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ "ไทยวน" ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน ไต หรือ ไท" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลังในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน

ในปี พ.ศ. 2454 "แดเนียล แม็คกิลวารี" ซึ่งทำงานเผยแพรคริสต์ศาสนาในล้านนา เป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410 - 2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว" เรียกคนในล้านนาว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมืองว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 "วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์" มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

โดยในอดีตชาวไทย มักจะเข้าใจว่าชาวล้านนามีภาษาและวัฒนธรรมใกล้เคียงกับชาวลาว จึงมีทัศนะว่าชาวล้านนาเป็นคนลาว ดังนั้นการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงจัดให้หัวเมืองล้านนาอยู่ใน "มณฑลพายัพ หรือลาวเฉียง และมณฑลมหาราษฎร์" จนเมื่อมีการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางแล้ว ชาวไทยจึงได้หล่อหลอมให้ชาวล้านนาเป็นชาวไทย โดยใช้ระบบการศึกษาเข้าช่วยสร้างสามัญสำนึกเป็นคนไทยได้อย่างรวดเร็ว

ส่วนทางฝรั่งอธิบายว่าเป็นพวกล้านนา ซึ่งระบุเมืองเชียงราย เชียงของ เชียงแสนรวมความว่าแคว้นโยนกโบราณซึ่งกลายมาเป็นล้านนาในภายหลัง แบ่งกันอีกอย่างหนึ่งว่าพวกอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเป็น ลาวล้านช้าง ส่วนฝั่งขวาคือ ไทล้านนา นอกจากนี้ยังแบ่งอีกว่า ลาวพุงขาว ลาวพุงดำ พวกล้านช้างเป็น ลาวพุงขาว เพราะพวกนี้แม่นิยมสักตามตัว ก็สักแต่ขาตัวตัว ไม่สักที่พุง แต่ไทล้านนา ได้ความว่าชอบสักที่พุง จึงเรียกว่า ลาวพุงดำ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • สุรชัย จงจิตงาม,ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ,หน้า16