ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีโอลัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: kk:Ядрошық
Thunder002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Diagram human cell nucleus.svg|thumb|right|200px|[[นิวเคลียส]]และ'''นิวคลีโอลัส''']]
[[ไฟล์:Diagram human cell nucleus.svg|thumb|right|200px|[[นิวเคลียส]]และ'''นิวคลีโอลัส''']]
'''นิวคลีโอลัส''' ({{lang-en|Nucleolus}}) เป็นส่วนหนึ่งของนิวเคลียส ที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ ประกอบด้วยสารประเภท RNA และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของ[[ไรโบโซม]] ค้นพบโดย "ฟอนตานา" (Fontana) เมี่อปี ค.ศ. 1781 ([[พ.ศ. 2224]]) นิวคลีโอลัสพบเฉพาะเซลล์ของพวกยูคาริโอตเท่านั้น เซลล์อสุจิ เซลล์เม็ดเลือดแดง ที่เจริญเติบโตเต็มที่ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ไฟเบอร์ของกล้ามเนื้อ จะไม่มีนิวคลีโอลัส นิวคลีโอลัส เป็นตำแหน่งที่ติดสีเคมี บนโครโมโซม ประกอบด้วยสารประเภท [[DNA]] TNA ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับ กลไกการสร้างโปรตีน
'''นิวคลีโอลัส''' ({{lang-en|Nucleolus}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[นิวเคลียส]] ที่มีลักษณะเป็นก้อน[[อนุภาค]]หนาทึบ ประกอบด้วยสารประเภท [[RNA]] และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของ[[ไรโบโซม]] ค้นพบโดย "ฟอนตานา" (Fontana) เมี่อปี ค.ศ. 1781 ([[พ.ศ. 2224]]) นิวคลีโอลัสพบเฉพาะเซลล์ของพวก[[ยูคาริโอต]]เท่านั้น [[เซลล์อสุจิ]] [[เซลล์เม็ดเลือดแดง]] ที่เจริญเติบโตเต็มที่ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ไฟเบอร์ของกล้ามเนื้อ จะไม่มีนิวคลีโอลัส นิวคลีโอลัส เป็นตำแหน่งที่ติดสี[[เคมี]] บน[[โครโมโซม]] ประกอบด้วยสารประเภท [[DNA]] TNA ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับ กลไกการสร้างโปรตีน


ซึ่งนิวคลีโอลัส ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน (Phosphoprotein) จะไม่พบโปรตีนฮิสโตนเลย ในเซลล์ที่มีกิจกกรรมสูง จะมีนิวคลีโอลัสขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์ที่มีกิจกรรมต่ำ จะมีนิวคลีโอลัสขนาดเล็ก นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ และถูกนำออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากไรโบโซมทำหน้าที่สร้างโปรตีน
ซึ่งนิวคลีโอลัส ประกอบด้วย [[โปรตีน]] และ [[RNA]] โดยโปรตีนเป็นชนิด[[ฟอสโฟโปรตีน]] (Phosphoprotein) จะไม่พบ[[โปรตีนฮิสโตน]]เลย ในเซลล์ที่มีกิจกกรรมสูง จะมีนิวคลีโอลัสขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์ที่มีกิจกรรมต่ำ จะมีนิวคลีโอลัสขนาดเล็ก นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ และถูกนำออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจาก[[ไรโบโซม]]ทำหน้าที่สร้าง[[โปรตีน]]


{{ออร์แกเนลล์}}
{{ออร์แกเนลล์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:31, 9 กุมภาพันธ์ 2555

นิวเคลียสและนิวคลีโอลัส

นิวคลีโอลัส (อังกฤษ: Nucleolus) เป็นส่วนหนึ่งของนิวเคลียส ที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ ประกอบด้วยสารประเภท RNA และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม ค้นพบโดย "ฟอนตานา" (Fontana) เมี่อปี ค.ศ. 1781 (พ.ศ. 2224) นิวคลีโอลัสพบเฉพาะเซลล์ของพวกยูคาริโอตเท่านั้น เซลล์อสุจิ เซลล์เม็ดเลือดแดง ที่เจริญเติบโตเต็มที่ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ไฟเบอร์ของกล้ามเนื้อ จะไม่มีนิวคลีโอลัส นิวคลีโอลัส เป็นตำแหน่งที่ติดสีเคมี บนโครโมโซม ประกอบด้วยสารประเภท DNA TNA ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับ กลไกการสร้างโปรตีน

ซึ่งนิวคลีโอลัส ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน (Phosphoprotein) จะไม่พบโปรตีนฮิสโตนเลย ในเซลล์ที่มีกิจกกรรมสูง จะมีนิวคลีโอลัสขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์ที่มีกิจกรรมต่ำ จะมีนิวคลีโอลัสขนาดเล็ก นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ และถูกนำออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากไรโบโซมทำหน้าที่สร้างโปรตีน