ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดมังกรกมลาวาส"

พิกัด: 13°44′36″N 100°30′34″E / 13.743247°N 100.509434°E / 13.743247; 100.509434
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:วัดมังกรกมลาวาส.jpg|thumb|250px|วัดมังกรกมลาวาส]]
[[ไฟล์:วัดมังกรกมลาวาส.jpg|thumb|250px|วัดมังกรกมลาวาส]]
'''วัดมังกรกมลาวาส''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|ตัวเต็ม]]: 龍蓮寺, [[อักษรจีนตัวย่อ|ตัวย่อ]]: 龙莲寺, [[พินอิน]]: Lóng lián sì ''ลงเหลียนซือ'', [[หมิ่นหนาน|ฮกเกี้ยน]]: เล้งเหลียนซี่, [[สำเนียงแต้จิ๋ว]]: เล่งเน่ยยี่) เป็น[[วัดจีน]]สังกัด[[คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย]] ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญกรุง]] ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ใน[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ
'''วัดมังกรกมลาวาส''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|ตัวเต็ม]]: 龍蓮寺, [[อักษรจีนตัวย่อ|ตัวย่อ]]: 龙莲寺, [[พินอิน]]: Lóng lián sì ''หลงเหลียนซื่อ'', [[หมิ่นหนาน|ฮกเกี้ยน]]: เล้งเหลียนซี่, [[สำเนียงแต้จิ๋ว]]: เล่งเน่ยยี่) เป็น[[วัดจีน]]สังกัด[[คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย]] ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญกรุง]] ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ใน[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ


วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “ เน่ย ” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ ยี่ ” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5
วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “ เน่ย ” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ ยี่ ” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:26, 27 มกราคม 2555

ไฟล์:วัดมังกรกมลาวาส.jpg
วัดมังกรกมลาวาส

วัดมังกรกมลาวาส (ตัวเต็ม: 龍蓮寺, ตัวย่อ: 龙莲寺, พินอิน: Lóng lián sì หลงเหลียนซื่อ, ฮกเกี้ยน: เล้งเหลียนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: เล่งเน่ยยี่) เป็นวัดจีนสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ

วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “ เน่ย ” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ ยี่ ” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

วัดนี้ก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2414 ใช้เวลาก่อสร้าง 8 ปีกว่าจะแล้วเสร็จ มีลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบทางจีนตอนใต้ของสกุลช่างแต้จิ๋ว โดยวางแปลนตามแบบวัดหลวง คือ มีวิหารท้าวจตุโลกบาลเป็นวิหารแรก ตรงกลางเป็นพระอุโบสถ ข้างหลังพระอุโบสถเป็นวิหารเทพเจ้า การสร้างใช้ไม้และอิฐเป็นวัสดุสำคัญ

จากประตูทางเข้า เข้าไปจะถึงวิหารท้าวจตุโลกบาล จะเห็นเทพเจ้า 4 องค์ (ข้างละ 2 องค์) ในชุดนักรบจีนและถืออาวุธและสิ่งของต่างๆ กัน เช่นพิณ ดาบ ร่ม เจดีย์ คนจีนเรียกว่า เรียกว่า "ซี้ไต๋เทียงอ้วง" หมายถึงเทพเจ้าที่ปกปักษ์รักษา คุ้มครอง ทิศต่างๆ ทั้ง 4 ทิศ ถัดจากวิหารท้าวจตุโลกบาล คือ อุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานของพระประธานของวัด คือ พระศากยมุนีพุทธเจ้า พระอมิตาภพุทธเจ้า พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า ทั้งหมด 3 องค์ คนจีนเรืยก "ซำป้อหุกโจ้ว" พร้อมพระอรหันต์ อีก 18 องค์ หรือคนจีนเรียกว่า "จับโป๊ยหล่อหั่ง"

ทางด้านขวามีเทพเจ้าต่างๆ หลายองค์ เช่น เทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตา คนจีนเรียกว่า "ไท้ส่วย เอี๊ยะ" เทพเจ้าแห่งยาหรือหมอเทวดา "หั่วท้อเซียงซือกง" และที่นิยมไหว้ขอพรมากคือ เทพเจ้าแห่งโชคลาภ "ไฉ่ซิ้งเอี๊ยะ" เทพเจ้าเฮ่งเจีย คนจีนเรียกว่า "ไต่เสี่ยหุกโจ้ว" พระเมตไตรยโพธิสัตว์หรือ "ปู๊กุ่ยหุกโจ้ว"ซึ่งคล้ายกับพระสังกัจจายน์ของคนไทย " กวนอิมผู่สัก" หรือ พระโพธิสัตว์กวนอิม "แป๊ะกง" และ "แป๊ะม่า" รวมเทพเจ้าในวัด จะมีทั้งหมด 58 องค์

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′36″N 100°30′34″E / 13.743247°N 100.509434°E / 13.743247; 100.509434