ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวไถ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ku:Kemera Oryonê
Change the stars distance from Earth
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cintura di Orione binocolo.png||thumb|กลุ่มดาวไถ หรือเข็มขัดนายพราน]]
[[ไฟล์:Cintura di Orione binocolo.png||thumb|กลุ่มดาวไถ หรือเข็มขัดนายพราน]]
[[ไฟล์:Orion_3008_huge.jpg|thumb|ดาวไถ]]
[[ไฟล์:Orion_3008_huge.jpg|thumb|ดาวไถ]]
'''ดาวไถ''' หรือ '''ดาวเต่า''' [[ชาวตะวันตก]] เรียกว่า Orion ซึ่งแปลว่า นายพราน แต่คนไทยเห็นเป็นไถจึงเรียกว่าดาวไถ โดยมีดาวเต่าล้อมรอบ ซึ่งดาวไถเป็นเข็มขัดของนายพรานและดาวเต่าเป็นตัวนายพราน จะมองเห็นชัดใน[[ฤดูหนาว]]เป็นดวงดาวสามดวงเรียงกัน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวที่ดูได้ง่ายในฤดูหนาวจะเห็นได้ชัดกลุ่มดาวไถมีประโยชน์ในการค้นหาดาวอื่น ๆ ซึ่งดาวไถจะอยู่ห่างจากโลกประมาณ 6 ปีแสงและเป็นแหล่งที่มีดาวดวงใหม่เกิดขึ้นมากที่สุดที่ตรงใจกลางดาวไถมีดวงดาวอยู่ถึง 110 ดวง
'''ดาวไถ''' หรือ '''ดาวเต่า''' [[ชาวตะวันตก]] เรียกว่า Orion ซึ่งแปลว่า นายพราน แต่คนไทยเห็นเป็นไถจึงเรียกว่าดาวไถ โดยมีดาวเต่าล้อมรอบ ซึ่งดาวไถเป็นเข็มขัดของนายพรานและดาวเต่าเป็นตัวนายพราน จะมองเห็นชัดใน[[ฤดูหนาว]]เป็นดวงดาวสามดวงเรียงกัน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวที่ดูได้ง่ายในฤดูหนาวจะเห็นได้ชัดกลุ่มดาวไถมีประโยชน์ในการค้นหาดาวอื่น ๆ ซึ่งดาวไถจะอยู่ห่างจากโลกประมาณ 800 - 1400 ปีแสง และเป็นแหล่งที่มีดาวดวงใหม่เกิดขึ้นมากที่สุดที่ตรงใจกลางดาวไถมีดวงดาวอยู่ถึง 110 ดวง


==เวลาที่เห็นได้ชัด==
==เวลาที่เห็นได้ชัด==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:33, 22 มกราคม 2555

กลุ่มดาวไถ หรือเข็มขัดนายพราน
ดาวไถ

ดาวไถ หรือ ดาวเต่า ชาวตะวันตก เรียกว่า Orion ซึ่งแปลว่า นายพราน แต่คนไทยเห็นเป็นไถจึงเรียกว่าดาวไถ โดยมีดาวเต่าล้อมรอบ ซึ่งดาวไถเป็นเข็มขัดของนายพรานและดาวเต่าเป็นตัวนายพราน จะมองเห็นชัดในฤดูหนาวเป็นดวงดาวสามดวงเรียงกัน ถือว่าเป็นกลุ่มดาวที่ดูได้ง่ายในฤดูหนาวจะเห็นได้ชัดกลุ่มดาวไถมีประโยชน์ในการค้นหาดาวอื่น ๆ ซึ่งดาวไถจะอยู่ห่างจากโลกประมาณ 800 - 1400 ปีแสง และเป็นแหล่งที่มีดาวดวงใหม่เกิดขึ้นมากที่สุดที่ตรงใจกลางดาวไถมีดวงดาวอยู่ถึง 110 ดวง

เวลาที่เห็นได้ชัด

เวลาสามทุ่มของวันที่ 25 มกราคมของทุกปีดาวไถจะอยู่ตรงศีรษะแต่ถ้าอยากดูตอนหัวค่ำต้องดูในเดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม

กลุ่มดาวที่อยู่ใกล้

ดาวธง ดาวลูกไก่ ดาวม้า