ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จริตนิยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลัทธิแมนเนอริสม์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น จริตนิยม: ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตฯ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->
[[ไฟล์:Girolamo Francesco Maria Mazzola - Madonna with the Long Neck.jpg|thumb|200px|ในภาพเขียน “พระแม่มารีศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดย [[พาร์มิจานิโน]] แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือน[[การเขียนแบบทัศนียภาพ|ทัศนียภาพ]]ไม่กระจ่างแจ้ง]]
[[ไฟล์:Girolamo Francesco Maria Mazzola - Madonna with the Long Neck.jpg|thumb|200px|ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดย[[ปาร์มีจานีโน]] แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือน[[ทัศนมิติ]]ไม่กระจ่างแจ้ง]]


'''ลัทธิแมนเนอริสม์''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Mannerism) คือสมัยของ[[ศิลปะ]]ของ[[จิตรกรรม]], [[ประติมากรรม]], [[สถาปัตยกรรม]] และ การตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ [[ศิลปะเรอเนซองส์]]สมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี ค.ศ. 1520 จนกระทั่งจดสมัย [[ศิลปะบาโรก|บาโรก]] ราวปี ค.ศ. 1600
'''จริตนิยม'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์ศิลปะ ราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|Mannerism}}) คือยุคของ[[ศิลปะ]]ของ[[จิตรกรรม]] [[ประติมากรรม]] [[สถาปัตยกรรม]] และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]สมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี ค.ศ. 1520 จนกระทั่งจดสมัย[[ศิลปะบาโรก|บาโรก]] ราวปี ค.ศ. 1600


ลักษณะของลัทธิแมนเนอริสม์ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งมีอิทธิพลจากหรือมีปฏิกิริยาต่อความกลมกลืนทางอุดมคติที่เกี่ยวข้องกับงานของ [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]], [[ราฟาเอล]] และงานสมัยแรกๆ ของ[[ไมเคิล แอนเจโล]] แมนเนอริสม์เป็นทั้งศิลปะทางความคิดและความสร้างสรรค์แทนที่จะเป็นธรรมชาติ คำว่าแมนเนอริสม์ใช้สำหรับจิตรกร[[ศิลปะกอธิค|กอธิค]]สมัยหลังที่ทำงานทางตอนเหนือของยุโรปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1530 โดยเฉพาะในบริเวณอันทเวิรพในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน และงานวรรณกรรมสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเฉพาะโคลงกลอน
ลักษณะของจริตนิยมขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งมีอิทธิพลจากหรือมีปฏิกิริยาต่อความกลมกลืนทางอุดมคติที่เกี่ยวข้องกับงานของ[[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] [[ราฟาเอล]] และงานสมัยแรก ๆ ของ[[มีเกลันเจโล]] จริตนิยมเป็นทั้งศิลปะทางความคิดและความสร้างสรรค์แทนที่จะเป็นธรรมชาติ คำว่าจริตนิยมใช้สำหรับจิตรกร[[ศิลปะกอธิค|กอธิค]]สมัยหลังที่ทำงานทางตอนเหนือของยุโรปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1530 โดยเฉพาะในบริเวณอันทเวิรพในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน และงานวรรณกรรมสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเฉพาะโคลงกลอน


== ที่มา ==
== ที่มา ==
“แมนเนอริสม์” มาจาก[[ภาษาอิตาลี]] “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด
“แมนเนอริสม์” มาจาก[[ภาษาอิตาลี]] “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]
* [[ศิลปะเรอเนซองส์]]
* [[ศิลปะตะวันตก]]
* [[ศิลปะตะวันตก]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Mannerism|ลัทธิแมนเนอริสม์}}
{{commonscat|Mannerism|จริตนิยม}}


== สมุดภาพ ==
== สมุดภาพ ==
<center>
<center>
<gallery perrow="5">
<gallery perrow="5">
ภาพ:Jacopo Pontormo 036.jpg|“[[พระแม่มารีและพระบุตร]]และ[[นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์]]” โดย [[จาโคโป พอนทอร์โม]] (Jacopo Pontormo) พิพิธภัณฑ์เฮอร์มืทาจ, [[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]
ภาพ:Jacopo Pontormo 036.jpg|“[[แม่พระและพระกุมาร]]และ[[ยอห์นแบปติสต์]]” โดย[[จาโกโป ปอนตอร์โม]] (Jacopo Pontormo) พิพิธภัณฑ์เฮอร์มืทาจ, [[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]
ภาพ:Rosso Fiorentino 002.jpg|“[[ชะลอร่างจากกางเขน]]” โดย [[รอสโซ ฟิโอเรนติโน]] (Fiorentino) ที่โวลเทอรา ประเทศอิตาลี
ภาพ:Rosso Fiorentino 002.jpg|“[[ชะลอร่างจากกางเขน]]” โดย[[รอสโซ ฟีโอเรนตีโน]] (Fiorentino) ที่โวลเทอรา ประเทศอิตาลี
ภาพ:Giulio Romano.jpg|“พระมารดาและพระบุตร” โดย [[จุยลิโอ โรมาโน]] (Giulio Romano) [[โรม]]
ภาพ:Giulio Romano.jpg|“แม่พระและพระกุมาร” โดย[[จูลีโอ โรมาโน]] (Giulio Romano) [[โรม]]
ภาพ:Angelo Bronzino 045.jpg|“ภาพเหมือนของลูเรเซีย แพนเชียทิชิ” (Lucrezia Panciatichi) โดย [[แอนเจโล บรอนซิโน]] (Angelo Bronzino) ค.ศ. 1540 พิพิธภัณฑ์อุฟิซิ, [[ฟลอเรนซ์]], [[ประเทศอิตาลี]]
ภาพ:Angelo Bronzino 045.jpg|“ภาพเหมือนของลูเกรเซีย ปันชีอาตีกี” (Lucrezia Panciatichi) โดย[[อันเจโล บรอนซีโน]] (Angelo Bronzino) ค.ศ. 1540 พิพิธภัณฑ์อุฟิซิ, [[ฟลอเรนซ์]], [[ประเทศอิตาลี]]
ภาพ:Ratusz9 zam.JPG|ตึกเทศบาลเมือง Zamość ใน[[ประเทศโปแลนด์]] โดย [[เบอร์นาร์โด โมรานโด]] (Bernardo Morando)
ภาพ:Ratusz9 zam.JPG|ตึกเทศบาลเมือง Zamość ใน[[ประเทศโปแลนด์]] โดย[[แบร์นาร์โด โมรันโด]] (Bernardo Morando)
</gallery>
</gallery>
{{ศิลปะตะวันตก}}
{{ศิลปะตะวันตก}}
{{โครงศิลปะ}}
{{โครงศิลปะ}}


[[หมวดหมู่:จิตรกรรม|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรม]]
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศิลปะ|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศิลปะ]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะสมัยใหม่|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะสมัยใหม่]]
{{Link FA|pt}}
{{Link FA|pt}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:13, 17 มกราคม 2555

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง

จริตนิยม[1] (อังกฤษ: Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี ค.ศ. 1520 จนกระทั่งจดสมัยบาโรก ราวปี ค.ศ. 1600

ลักษณะของจริตนิยมขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งมีอิทธิพลจากหรือมีปฏิกิริยาต่อความกลมกลืนทางอุดมคติที่เกี่ยวข้องกับงานของเลโอนาร์โด ดา วินชี ราฟาเอล และงานสมัยแรก ๆ ของมีเกลันเจโล จริตนิยมเป็นทั้งศิลปะทางความคิดและความสร้างสรรค์แทนที่จะเป็นธรรมชาติ คำว่าจริตนิยมใช้สำหรับจิตรกรกอธิคสมัยหลังที่ทำงานทางตอนเหนือของยุโรปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1530 โดยเฉพาะในบริเวณอันทเวิรพในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน และงานวรรณกรรมสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเฉพาะโคลงกลอน

ที่มา

“แมนเนอริสม์” มาจากภาษาอิตาลี “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

สมุดภาพ

แม่แบบ:Link FA