ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำลังกึ่งทหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: uk:Парамілітарна організація
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: tr:Yarı askerî
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
[[sv:Paramilitär]]
[[sv:Paramilitär]]
[[ta:துணை இராணுவப் படை]]
[[ta:துணை இராணுவப் படை]]
[[tr:Yarı askeri]]
[[tr:Yarı askerî]]
[[uk:Парамілітарна організація]]
[[uk:Парамілітарна організація]]
[[zh:準軍事部隊]]
[[zh:準軍事部隊]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:54, 30 ธันวาคม 2554

กำลังกึ่งทหาร (อังกฤษ: Paramilitary) หมายถึง กองกำลังซึ่งมีหน้าที่และการจัดรูปแบบคล้ายคลึงกับกองกำลังทหารอาชีพ แต่มิได้รับการยอมรับว่ามีสถานะเป็นส่วนหนึ่งของกองกําลังทหารปกติ คำว่า "paramilitary" มาจากคำอุปสรรคในภาษากรีกว่า para- (แสดงความใกล้ชิด)

คำว่า "กำลังกึ่งทหาร" เป็นการใช้ความคิดเห็นในการแยกแยะ ขึ้นอยู่กับว่าอะไรที่ถูกพิจารณาว่าคล้ายคลึงกับกองกำลังทางทหาร และพิจารณาว่าอะไรเป็นสถานะที่กองกำลังควรมี ตามธรรมชาติของกองกำลังกึ่งทหารจึงมีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับผู้พูดและบริบท ยกตัวอย่างเช่น ในไอร์แลนด์เหนือ กำลังกึ่งทหาร หมายความถึง กลุ่มผิดกฎหมายทุกกลุ่มซึ่งมีวัตถุประสงค์ทางการเมือง แต่ในโคลัมเบีย กำลังกึ่งทหาร หมายความถึงแต่กองกำลังติดอาวุธฝ่ายขวาถูกกฎหมาย ซึ่งมิได้ต่อสู้กับรัฐบาล ในขณะที่กลุ่มติดอาวุธผิดกฎหมายฝ่ายซ้าย ซึ่งก่อการกบฎต่อรัฐบาล จะถูกพิจารณาว่าเป็นกองโจร[1]

ตัวอย่างของกําลังกึ่งทหาร

  • ตํารวจ
  • ตํารวจตระเวนชายแดน
  • หน่วยดับเพลิง
  • กองกําลังความมั่นคงภายใน เป็นหน่วยรักษาความั่นคงภายในกระทรวง หรืองค์กรนั้นๆที่ไม่ใช่กองทัพทหาร
  • กําลังทหารพลเรือน
  • กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ, กองโจร ซึ่งบางประเทศอาจพิจารณาว่าเป็นผู้ก่อการร้าย
  • กองกําลังติดอาวุธของหน่วยงานข่าวกรองประจําชาติ เช่น CIA,FBI,SAS
  • กองกําลังทหารส่วนตัวเฉพาะบุคคล เช่น หน่วย เอส เอส ของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์
  • กองกําลังทหารเอกชน องค์กรเอกชน หรือบริษัทเอกชน ที่ให้การบริการทางทหาร
  • ทหารรับจ้าง

อ้างอิง