ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลูกถ่ายอวัยวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่ม tag การแก้ไข
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
เชื่อมโยงคำสำคัญ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การปลูกถ่ายอวัยวะ''' (Organ transplantation) เป็นการย้ายอวัยวะจากร่างหนึ่งไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในผู้ป่วยคนเดียวกัน เพื่อแทนที่อวัยวะที่เสียหายหรือขาดไป การอุบัติขึ้นของ regenerative medicine ทำให้นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสามารถสร้างหรือปลูกอวัยวะจากเซลล์ของคนไข้เอง ([[สเต็มเซลล์|เซลล์ต้นกำเนิด]] หรือเซลล์ที่แยกมาจากอวัยวะที่เสื่อม) การปลูกถ่าย[[อวัยวะ]]และ/หรือ[[เนื้อเยื่อ]]ที่ถูกปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเองเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (autotranplantation) การเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชิวิตชนิดเดียวกันเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (allotranplantation) การปลูกถ่ายด้วยอวัยวะจากสัตว์ชนิดอื่นเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (xenotransplantation)
'''การปลูกถ่ายอวัยวะ''' (Organ transplantation) เป็นการย้ายอวัยวะจากร่างหนึ่งไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในผู้ป่วยคนเดียวกัน เพื่อแทนที่อวัยวะที่เสียหายหรือขาดไป การอุบัติขึ้นของ regenerative medicine ทำให้นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสามารถสร้างหรือปลูกอวัยวะจากเซลล์ของคนไข้เอง ([[สเต็มเซลล์|เซลล์ต้นกำเนิด]] หรือเซลล์ที่แยกมาจากอวัยวะที่เสื่อม) การปลูกถ่าย[[อวัยวะ]]และ/หรือ[[เนื้อเยื่อ]]ที่ถูกปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเองเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (autotranplantation) การเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชิวิตชนิดเดียวกันเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (allotranplantation) การปลูกถ่ายด้วยอวัยวะจากสัตว์ชนิดอื่นเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (xenotransplantation)


ในปัจจุบันอวัยวะที่สามารถปลูกถ่ายได้ ได้แก่ หัวใจ ไต ตา [[การปลูกถ่ายตับ|ตับ]] ปอด ตับอ่อน ลำไส้เล็ก และ ต่อมไทมัส เนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายได้ ได้แก่ กระดูก เอ็น กระจกตา ผิวหนัง ลิ้นหัวใจ และหลอดเลือดดำ ทั่วโลกมีการเปลี่ยนถ่ายไตมากที่สุด ตามมาด้วยตับและหัวใจ ส่วนเนื้อเยื่อ ได้แก่ กระจกตาและเนื้อเยื่อกระดูกและเอ็น อวัยวะบางอย่างเช่นสมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้
ในปัจจุบันอวัยวะที่สามารถปลูกถ่ายได้ ได้แก่ หัวใจ ไต ตา [[การปลูกถ่ายตับ|ตับ]] ปอด ตับอ่อน ลำไส้เล็ก และ ต่อมไทมัส เนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายได้ ได้แก่ กระดูก เอ็น กระจกตา ผิวหนัง ลิ้นหัวใจ และหลอดเลือดดำ ทั่วโลกมีการปลูกถ่ายไตมากที่สุด ตามมาด้วยตับและหัวใจ ส่วนเนื้อเยื่อ ได้แก่ กระจกตาและเนื้อเยื่อกระดูกและเอ็น อวัยวะบางอย่างเช่นสมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้


ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือ[[ภาวะสมองตาย|สมองตาย]]แล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย <ref>See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to [http://apps.who.int/gb/ebwha/pdf_files/A62/A62_15-en.pdf World Health Organization, 2008.]</ref><ref>Further sources in the [http://www.who.int/ethics/en/eth_bibliography_transplantation.pdf Bibliography on Ethics of the WHO].</ref> ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ <ref>See [http://www.who.int/bulletin/volumes/82/9/feature0904/en/index.html Organ trafficking and transplantation pose new challenges].</ref>
ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือ[[ภาวะสมองตาย|สมองตาย]]แล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย <ref>See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to [http://apps.who.int/gb/ebwha/pdf_files/A62/A62_15-en.pdf World Health Organization, 2008.]</ref><ref>Further sources in the [http://www.who.int/ethics/en/eth_bibliography_transplantation.pdf Bibliography on Ethics of the WHO].</ref> ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ <ref>See [http://www.who.int/bulletin/volumes/82/9/feature0904/en/index.html Organ trafficking and transplantation pose new challenges].</ref>


== การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย ==
== การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย ==
การปลูกถ่ายและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายบังคับ<ref>นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์, ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา, วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน 2553 การปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทย[http://www.oknation.net/blog/sukit/2010/09/04/entry-3 OK Nation Blog]</ref> แต่ได้มีการกำหนดหลักการเบื้องต้นโดยแพทยสภา<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 84 ง 9 กรกฎาคม 2553 หน้า 106-107 [http://www.tmc.or.th/download/tmc106.pdf ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553]</ref>และ[[สภากาชาดไทย]]<ref>ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย [http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/method_2545.pdf ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ. 2545]</ref><ref>[ http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/announces.pdf ประกาศศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]</ref>
การปลูกถ่ายและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายบังคับ<ref>นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์, ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา, วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน 2553 การปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทย[http://www.oknation.net/blog/sukit/2010/09/04/entry-3 OK Nation Blog]</ref> แต่ได้มีการกำหนดหลักการเบื้องต้นโดย[[แพทยสภา]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 84 ง 9 กรกฎาคม 2553 หน้า 106-107 [http://www.tmc.or.th/download/tmc106.pdf ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553]</ref>และ[[สภากาชาดไทย]]<ref>ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย [http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/method_2545.pdf ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ. 2545]</ref><ref>[ http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/announces.pdf ประกาศศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]</ref>


การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย<ref>[http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/guideline.pdf คู่มือการปลูกถ่ายอวัยวะ, ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ, สภากาชาดไทย]</ref>มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2515 โดยปลูกถ่ายไต และ ปลูกถ่ายตับ และหัวใจ ได้ในปี พ.ศ.2530 ปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) สามารถปลูกถ่ายอวัยวะต่างได้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ลิ้นหัวใจ ปอด และตับอ่อน ผลการรักษาโดยการปลูกถ่ายอวัยวะใน 1 ปีแรก อวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่ายได้แก่ ตับ หัวใจและปอด หัวใจ ตับ และไต สามารถทำงานได้ดีในระดับ 45% 75% 70-80% 80% และ 85% ตามลำดับ
การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย<ref>[http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/guideline.pdf คู่มือการปลูกถ่ายอวัยวะ, ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ, สภากาชาดไทย]</ref>มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2515 โดยปลูกถ่ายไต และ ปลูกถ่ายตับ และหัวใจ ได้ในปี พ.ศ.2530 ปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) สามารถปลูกถ่ายอวัยวะต่างได้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ลิ้นหัวใจ ปอด และตับอ่อน ผลการรักษาโดยการปลูกถ่ายอวัยวะใน 1 ปีแรก อวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่ายได้แก่ ตับ หัวใจและปอด หัวใจ ตับ และไต สามารถทำงานได้ดีในระดับ 45% 75% 70-80% 80% และ 85% ตามลำดับ


ตามสถิติปี พ.ศ. 2553<ref>[http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/odc2553.pdf รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]</ref> จำนวนผู้ลงทะเบียนรับอวัยวะมีมากถึง 2,717 คน ในขณะที่สามรถปลูกถ่ายได้เพียง 215 คน อวัยวะจึงยังขาดแคลนอีกมาก มีเหตุผลหลายประการที่ไม่มีอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย เช่น ประเด็นความเข้าใจของญาติผู้บริจาค ประเด็นการปฏิสัมพันธ์ของแพทย์กับญาติผู้บริจาค ประเด็นเทคนิคทางการแพทย์ และประเด็นทางกฎหมาย เป็นต้น จึงต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้ญาติและผู้ที่ต้องการบริจาค การออกกฎหมายรองรับ การใช้อวัยวะจากนักโทษประหาร เป็นต้น
ตามสถิติปี พ.ศ. 2553<ref>[http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/odc2553.pdf รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]</ref> จำนวนผู้ลงทะเบียนรับอวัยวะมีมากถึง 2,717 คน ในขณะที่สามรถปลูกถ่ายได้เพียง 215 คน อวัยวะจึงยังขาดแคลนอีกมาก มีเหตุผลหลายประการที่ไม่มีอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย เช่น ประเด็นความเข้าใจของญาติผู้บริจาค ประเด็นการปฏิสัมพันธ์ของแพทย์กับญาติผู้บริจาค ประเด็นเทคนิคทางการแพทย์ และประเด็นทางกฎหมาย เป็นต้น จึงต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้ญาติและผู้ที่ต้องการบริจาค การออกกฎหมายรองรับ การใช้อวัยวะจาก[[นักโทษประหาร]] เป็นต้น


ในการติดต่อบริจาคอวัยวะนั้น ผู้บริจาคอวัยวะควรเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคติดเชื้อ และโรคมะเร็ง สามารถติดต่อได้ที่[http://www.organdonate.in.th/ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย] สายด่วน 1666 หรือ หมายเลข 0 2256 4045-6 หรือติดต่อด้วยตนเองที่สถานที่ต่อไปนี้
ในการติดต่อบริจาคอวัยวะนั้น ผู้บริจาคอวัยวะควรเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจาก[[โรคติดเชื้อ]] และ[[โรคมะเร็ง]] สามารถติดต่อได้ที่[http://www.organdonate.in.th/ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย] สายด่วน 1666 หรือ หมายเลข 0 2256 4045-6 หรือติดต่อด้วยตนเองที่สถานที่ต่อไปนี้


#สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือ สำนักงานกิ่งกาชาด ทุกจังหวัด
#สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือ สำนักงานกิ่งกาชาด ทุกจังหวัด
#เครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลสิงห์บุรี โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และ โรงพยาบาลขอนแก่น
#เครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ ณ [[โรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ขอนแก่น)|โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น]] [[โรงพยาบาลชลบุรี]] [[โรงพยาบาลสิงห์บุรี]] [[โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี]] และ [[โรงพยาบาลขอนแก่น]]
#[http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/transplant/ งานเปลี่ยนอวัยวะ โรงพยาบาลศิริราช]
#[http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/transplant/ งานเปลี่ยนอวัยวะ โรงพยาบาลศิริราช]
#ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
#ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]]
#สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่งานกาชาด บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ
#สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่[[งานกาชาด]] บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 24 ธันวาคม 2554

การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplantation) เป็นการย้ายอวัยวะจากร่างหนึ่งไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในผู้ป่วยคนเดียวกัน เพื่อแทนที่อวัยวะที่เสียหายหรือขาดไป การอุบัติขึ้นของ regenerative medicine ทำให้นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสามารถสร้างหรือปลูกอวัยวะจากเซลล์ของคนไข้เอง (เซลล์ต้นกำเนิด หรือเซลล์ที่แยกมาจากอวัยวะที่เสื่อม) การปลูกถ่ายอวัยวะและ/หรือเนื้อเยื่อที่ถูกปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเองเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (autotranplantation) การเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชิวิตชนิดเดียวกันเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (allotranplantation) การปลูกถ่ายด้วยอวัยวะจากสัตว์ชนิดอื่นเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (xenotransplantation)

ในปัจจุบันอวัยวะที่สามารถปลูกถ่ายได้ ได้แก่ หัวใจ ไต ตา ตับ ปอด ตับอ่อน ลำไส้เล็ก และ ต่อมไทมัส เนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายได้ ได้แก่ กระดูก เอ็น กระจกตา ผิวหนัง ลิ้นหัวใจ และหลอดเลือดดำ ทั่วโลกมีการปลูกถ่ายไตมากที่สุด ตามมาด้วยตับและหัวใจ ส่วนเนื้อเยื่อ ได้แก่ กระจกตาและเนื้อเยื่อกระดูกและเอ็น อวัยวะบางอย่างเช่นสมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้

ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือสมองตายแล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย [1][2] ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ [3]

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย

การปลูกถ่ายและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายบังคับ[4] แต่ได้มีการกำหนดหลักการเบื้องต้นโดยแพทยสภา[5]และสภากาชาดไทย[6][7]

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย[8]มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2515 โดยปลูกถ่ายไต และ ปลูกถ่ายตับ และหัวใจ ได้ในปี พ.ศ.2530 ปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) สามารถปลูกถ่ายอวัยวะต่างได้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ลิ้นหัวใจ ปอด และตับอ่อน ผลการรักษาโดยการปลูกถ่ายอวัยวะใน 1 ปีแรก อวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่ายได้แก่ ตับ หัวใจและปอด หัวใจ ตับ และไต สามารถทำงานได้ดีในระดับ 45% 75% 70-80% 80% และ 85% ตามลำดับ

ตามสถิติปี พ.ศ. 2553[9] จำนวนผู้ลงทะเบียนรับอวัยวะมีมากถึง 2,717 คน ในขณะที่สามรถปลูกถ่ายได้เพียง 215 คน อวัยวะจึงยังขาดแคลนอีกมาก มีเหตุผลหลายประการที่ไม่มีอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย เช่น ประเด็นความเข้าใจของญาติผู้บริจาค ประเด็นการปฏิสัมพันธ์ของแพทย์กับญาติผู้บริจาค ประเด็นเทคนิคทางการแพทย์ และประเด็นทางกฎหมาย เป็นต้น จึงต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้ญาติและผู้ที่ต้องการบริจาค การออกกฎหมายรองรับ การใช้อวัยวะจากนักโทษประหาร เป็นต้น

ในการติดต่อบริจาคอวัยวะนั้น ผู้บริจาคอวัยวะควรเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคติดเชื้อ และโรคมะเร็ง สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย สายด่วน 1666 หรือ หมายเลข 0 2256 4045-6 หรือติดต่อด้วยตนเองที่สถานที่ต่อไปนี้

  1. สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือ สำนักงานกิ่งกาชาด ทุกจังหวัด
  2. เครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลสิงห์บุรี โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และ โรงพยาบาลขอนแก่น
  3. งานเปลี่ยนอวัยวะ โรงพยาบาลศิริราช
  4. ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  5. สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่งานกาชาด บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ

อ้างอิง

  1. See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to World Health Organization, 2008.
  2. Further sources in the Bibliography on Ethics of the WHO.
  3. See Organ trafficking and transplantation pose new challenges.
  4. นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์, ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา, วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน 2553 การปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยOK Nation Blog
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 84 ง 9 กรกฎาคม 2553 หน้า 106-107 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553
  6. ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ. 2545
  7. [ http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/announces.pdf ประกาศศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]
  8. คู่มือการปลูกถ่ายอวัยวะ, ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ, สภากาชาดไทย
  9. รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย

แหล่งข้อมูลอื่น