ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชีวสารสนเทศศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:dna-split.png|thumbnail|right|150px|การทำความเข้าใจข้อมูล[[ดีเอ็นเอ]] (ในภาพ) จำนวนมหาศาล จากโครงการจัดลำดับ[[รหัสพันธุกรรม]]นั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาที่ชีวสารสนเทศศาสตร์เผชิญ]]
[[ไฟล์:dna-split.png|thumbnail|right|150px|การทำความเข้าใจข้อมูล[[ดีเอ็นเอ]] (ในภาพ) จำนวนมหาศาล จากโครงการจัดลำดับ[[รหัสพันธุกรรม]]นั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาที่ชีวสารสนเทศศาสตร์เผชิญ]]
'''ชีวสารสนเทศศาสตร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Bioinformatics) หรือ '''ชีววิทยาเชิงคำนวณ''' (Computational Biology) เป็นสาขาที่ใช้ความรู้จาก[[คณิตศาสตร์ประยุกต์]], [[สถิติศาสตร์]], [[สารสนเทศศาสตร์]], และ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] เพื่อแก้ปัญหาทาง[[ชีววิทยา]].
'''ชีวสารสนเทศศาสตร์''' หรือ '''ชีววิทยาเชิงคำนวณ''' ({{lang-en|Bioinformatics หรือ Computational Biology}}) เป็นสาขาที่ใช้ความรู้จาก[[คณิตศาสตร์ประยุกต์]], [[สถิติศาสตร์]], [[สารสนเทศศาสตร์]], และ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] เพื่อแก้ปัญหาทาง[[ชีววิทยา]].


การศึกษาชีวสารสนเทศศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลทางพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา เช่น ข้อมูล[[รหัสพันธุกรรม]], ข้อมูล[[ลำดับรหัสโปรตีน]], ปริมาณชีวโมเลกุล (ระดับการแสดงออกของ[[ยีน]]ต่าง ๆ) แต่ละชนิด (mRNA และ[[โปรตีน]]), และข้อมูลหมายเหตุ (annotation data). โดยผู้ศึกษาวิจัย จะนำข้อมูลเหล่านี้ ไปใช้ในงานอย่าง การจัดเรียงลำดับรหัสโปรตีน การจัดโครงสร้างโปรตีน การทำนายโครงสร้างโปรตีน การค้นหายีน หรือ การสร้างหุ่นจำลองของวิวัฒนาการ. เนื่องจากข้อมูลที่ใช้นั้นมีจำนวนมาก ทำให้ใช้พื้นที่จัดเก็บมากตาม และบ่อยครั้งที่ข้อมูลมีความซับซ้อน ทำให้ต้องใช้การประมวลผลมากขึ้นเช่นกัน การศึกษาด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ จึงค้นหาเทคนิควิธีที่จะทำให้การจัดเก็บ สืบค้น และประมวลผลเหล่านั้น เป็นไปได้โดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ
การศึกษาชีวสารสนเทศศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลทางพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา เช่น ข้อมูล[[รหัสพันธุกรรม]], ข้อมูล[[ลำดับรหัสโปรตีน]], ปริมาณชีวโมเลกุล (ระดับการแสดงออกของ[[ยีน]]ต่าง ๆ) แต่ละชนิด (mRNA และ[[โปรตีน]]), และข้อมูลหมายเหตุ (annotation data). โดยผู้ศึกษาวิจัย จะนำข้อมูลเหล่านี้ ไปใช้ในงานอย่าง การจัดเรียงลำดับรหัสโปรตีน การจัดโครงสร้างโปรตีน การทำนายโครงสร้างโปรตีน การค้นหายีน หรือ การสร้างหุ่นจำลองของวิวัฒนาการ. เนื่องจากข้อมูลที่ใช้นั้นมีจำนวนมาก ทำให้ใช้พื้นที่จัดเก็บมากตาม และบ่อยครั้งที่ข้อมูลมีความซับซ้อน ทำให้ต้องใช้การประมวลผลมากขึ้นเช่นกัน การศึกษาด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ จึงค้นหาเทคนิควิธีที่จะทำให้การจัดเก็บ สืบค้น และประมวลผลเหล่านั้น เป็นไปได้โดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ
บรรทัด 10: บรรทัด 9:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.usinglinux.org/biology/ Linux ressources for biology]
* [http://www.usinglinux.org/biology/ Linux ressources for biology]



{{ชีววิทยา}}
{{ชีววิทยา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:17, 17 ธันวาคม 2554

การทำความเข้าใจข้อมูลดีเอ็นเอ (ในภาพ) จำนวนมหาศาล จากโครงการจัดลำดับรหัสพันธุกรรมนั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาที่ชีวสารสนเทศศาสตร์เผชิญ

ชีวสารสนเทศศาสตร์ หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (อังกฤษ: Bioinformatics หรือ Computational Biology) เป็นสาขาที่ใช้ความรู้จากคณิตศาสตร์ประยุกต์, สถิติศาสตร์, สารสนเทศศาสตร์, และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหาทางชีววิทยา.

การศึกษาชีวสารสนเทศศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลทางพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา เช่น ข้อมูลรหัสพันธุกรรม, ข้อมูลลำดับรหัสโปรตีน, ปริมาณชีวโมเลกุล (ระดับการแสดงออกของยีนต่าง ๆ) แต่ละชนิด (mRNA และโปรตีน), และข้อมูลหมายเหตุ (annotation data). โดยผู้ศึกษาวิจัย จะนำข้อมูลเหล่านี้ ไปใช้ในงานอย่าง การจัดเรียงลำดับรหัสโปรตีน การจัดโครงสร้างโปรตีน การทำนายโครงสร้างโปรตีน การค้นหายีน หรือ การสร้างหุ่นจำลองของวิวัฒนาการ. เนื่องจากข้อมูลที่ใช้นั้นมีจำนวนมาก ทำให้ใช้พื้นที่จัดเก็บมากตาม และบ่อยครั้งที่ข้อมูลมีความซับซ้อน ทำให้ต้องใช้การประมวลผลมากขึ้นเช่นกัน การศึกษาด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ จึงค้นหาเทคนิควิธีที่จะทำให้การจัดเก็บ สืบค้น และประมวลผลเหล่านั้น เป็นไปได้โดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ

Bioinformatics เป็นคำย่อจากคำเต็มว่า Molecular Bioinformatics ซึ่งหมายถึงสหการของ อณูชีววิทยา (Molecular Biology) กับ สารสนเทศศาสตร์ (Informatics), ในวงวิชาการไทยมักเรียกชื่อทับศัพท์ว่า ไบโออินฟอร์เมติกส์.

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link FA