ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยิวยิตสู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
จูจุสึ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ยิวยิตสู: ชื่อนิยม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการสรุป=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes|จัดรูปแบบ=yes}}
{{issues|ต้องการสรุป=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes|จัดรูปแบบ=yes}}


'''จูจุสึ''' ({{ญี่ปุ่น|柔術|jūjutsu}}) หรือในภาษาอังกฤษว่า '''จูจัตซู''' ({{lang-en|jujutsu}}; {{IPA-en|dʒuˈdʒʌtsu}})
'''ยิวยิตสู''' หรือในภาษาญี่ปุ่นว่า '''จูจุสึ''' ({{ญี่ปุ่น|柔術|jūjutsu}}) หรือภาษาอังกฤษว่า '''จูจัตซู''' ({{lang-en|jujutsu}}; {{IPA-en|dʒuˈdʒʌtsu}})


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:50, 22 พฤศจิกายน 2554

ยิวยิตสู หรือในภาษาญี่ปุ่นว่า จูจุสึ (ญี่ปุ่น: 柔術โรมาจิjūjutsu) หรือภาษาอังกฤษว่า จูจัตซู (อังกฤษ: jujutsu; เสียงอ่านภาษาอังกฤษ: /dʒuˈdʒʌtsu/)

ประวัติ

จูจุสึ ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า ศิลปะแห่งความอ่อน เป็นชื่อเรียกของศิลปะการต่อสู้ของญี่ปุ่น โดยบางครั้งอาจจะถูกเรียกด้วยชื่ออื่น ๆ เช่น ยะวะระ (yawara) , ไทจุตสุ (taijutsu)

ประวัติที่มาของจูจุสึนั้นไม่ชัดแจ้ง โดยมากกล่าวกันว่าถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงยุคของสงครามสมัย ระหว่างศตวรรษที่ 8 ถึง 16 เนื่องจากเป็นยุคสมัยสงครามทำให้เกิดวิชาใหม่ ๆ ขึ้นมาจำนวนมาก ในอดีตประเทศญี่ปุ่นมีสำนักจูจุสึอยู่หลายร้อยสำนัก โดยแต่ละสำนักมีแนวทางในการฝึกของตัวเอง โดยมากจะรับอิทธิพลมาจากศิลปะการต่อสู้โบราญของซามูไรที่เรียกกันว่า ไทจุสสุ ซึ่งหมายถึงศิลปะการใช้ร่างกาย โดยจูจุสึนั้นเป็นชื่อเรียกกลางที่ใช้เรียก ศิลปะการต่อสู้มือเปล่าอีกชนิดหนึ่งนั่นเอง

สำนักที่มีชื่อเสียงของจูจุสึก็เช่น ทะเกะโนะอุจิ ริว จูจุสึ (takenouchi ryu jujutsu) , โยชิน ริว จูจุสึ (yoshin ryu jūjutsu) และ ยางิว ชิงกัน ริว (yagyu shingan ryu)

ลักษณะการต่อสู้ของจูจุสึในสมัยก่อนนั้นจะขึ้นอยู่กับสำนักนั้น ๆ โดยมากจะมีทั้งการโจมตี การล๊อค การทุ่ม ในบางสำนักจะมีการฝึกการใช้อาวุธด้วย จนในบางครั้งจะถูกเรียกกันว่าเป็นวิชาที่มีทุกอย่าง การต่อสู้ของจูจุสึในสมัยก่อนนั้นจะเป็นการต่อสู้แบบไม่มีกติกา และ จะทำทุกวิถีทางเพื่อล้มคู่ต่อสู้ จูจุสึส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย จากผลสำรวจพบว่าจูจุสึสาวจะล้มคู่ต่อสู้ที่เป็นผู้ชายประมาณ 3-5 นาที พวกเธอกล่าวว่าผู้ชายถึงแม้จะมีรูกร่างใหญ่แต่ก็เคลื่อนไหวช้า พวกหนุ่มๆที่เล่นกล้ามเป็นมัดๆตามฟิตเนตมักทะนงตนในความแข็งแกร่งของตัวเอง จูจุสึสาวจะอาศัยความเร็วเข้าล็อคพวกเขาทันที จากนั้นก็ล้วงมือเข้าไปในกางเกงในชายหนุ่มเหล่านั้นแล้วควักเอาพวงอัณฑะออกมา ก่อนที่เธอจะบี้ลูกอัณฑะของพวกเขาจนแหลกคามือ ซึ่งชายหนุ่มส่วนใหญ่จะขาดใจตายทันที (สมัยโบราณจูจุสึจะทำลายอัณฑะคู่ต่อสู่เพียงข้างเดียว อีกข้างหนึ่งจะถูกกระชากออกทั้งลูกแล้วกินต่อหน้าคู่ต่อสู้นั้นก่อนเขาจะสิ้นใจ) ทั้งนี้จูจุสึถูกฝึกให้ไม่มีความไร้ปราณีต่อคู่ต่อสู้ไม่ว่ากรณีใดๆ

เนื่องจากการต่อสู้ของจูจุสึมีความรุนแรง ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นบางครั้งจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้มีการทำการฝึก เมื่อไม่มีผู้สืบทอดวิชา ก็ทำให้วิชาจำนวนมากสูญหายไป นอกจากนั้นในยุคต่อมาเมื่อยุคสมัยของสงครามนั้นจบลงไป วิชาจูจุสึก็จึงถูกมองว่ามีความป่าเถื่อน และ รุนแรงเกินไป รวมทั้งมีการพัฒนาศิลปะการต่อสู้ใหม่ ๆ ออกมาทำให้จูจุสึเสื่อมความนิยม

ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย

จูจุสึในประเทศไทย ได้เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2464 เช่นกัน แต่ภายหลังเนื่องจากกีฬายูโดเริ่มแพร่หลายทั่วโลก จูจุสึถูกมองว่ามีความรุนแรงจนเกินไป จึงได้เกิดการปรับเปลี่ยนการฝึกโดยทั่วไปเป็นการฝึกกีฬายูโด

ถึงแม้ปัจจุบันจะหาหลักฐานถึงการสอนจูจุสึในไทยได้ค่อนข้างน้อย แต่ก็ยังมีบันทึกถึงเรื่องการฝึกจูจุสึในช่วงแรก เช่น โรงฝึกแรกที่ชื่อเรนบูกัน และ ห้องยิมของโรงเรียนเทพศิรินทร์ ซึ่งมีการสอนจูจุสึและมีชื่อเสียงจากการแข่งขันกับโรงเรียนอื่น ๆ โดยมีนักจูจุสึที่โด่งดังจากการแข่งขัน เช่น ฉลวย อัศวนนท์, ประจันต์ วัชรปาน, จำรัส ศุภวงศ์ , แถม สุดกังวาล, ปิ่น วิจารณ์บุตร, เชษฐ์ วิลิตกุล, สำราญ สุขุม ซึ่งบางคนได้เป็นผู้ที่ได้ไปรับวิชายูโดเข้ามาในประเทศไทยต่อมา

นักจูจุสึ 5 คน ที่ได้รับเลือกไปศึกษายูโดที่โคโดกันประเทศญี่ปุ่นเป็นชุดแรกของไทยได้แก่ 1. อ.จำรัส ศุภวงศ์ 2. อ.ประจันต์ วัชรปาน 3. อ.สมศักดิ์ กิตติสาธร 4. อ.ทนง ชุมสาย 5. อ.นาคา โมโต

ซึ่งในภายหลังโรงฝึกจูจุสึในประเทศไทยได้เปลี่ยนเป็นยูโดเกือบทั้งหมด พบวิชาจูจุสึจำนวนน้อยที่ยังหลงเหลือโดยเป็นวิชาจูจุสึที่ถูกพัฒนามาใหม่จากอดีตผู้ฝึกจูจุสึในอดีต เช่น วัชระจูจุสึ และ อิทเท็นจูจุสึ

จูจุสึในปัจจุบัน

ถึงแม้เวลาจะผ่านไปอย่างยาวนาน จูจุสึก็ยังมีการฝึกและสืบทอดต่อกันมา และ มีพัฒนาการต่อมาทั้งในและนอกประเทศญี่ปุ่น โดยปัจจุบันจูจุสึของญี่ปุ่นหรือจูจุสึที่มีการต่อสู้ในแบบดั้งเดิมคือมีการโจมตี หัก ล๊อค ทุ่ม ในบางครั้งจะถูกเรียกว่า "นิฮอน จูจุสึ" (Nihon jūjutsu) เนื่องจากไม่ต้องการให้สับสนกับจูจุสึ ที่มีการพัฒนาขึ้นมาจากบราซิล นั่นก็คือ บราซิลเลี่ยน จูจุสึ (Jiu-jutsu) ซึ่งเน้นการต่อสู้ในท่านอนมากกว่าแบบดั้งเดิม หากสังเกตจะเห็นว่าในภาษาอังกฤษนั้นบราซิลเลี่ยน จูจุสึ จะถูกเขียนว่า Jiu-jutsu ซึ่งแตกต่างกับการเขียนแบบญี่ปุ่น (Jujutsu)

นอกจากนั้นยังสามารถแบ่งจูจุสึแบบญี่ปุ่นออกมาได้อีกสองประเภท คือ จูจุสึแบบโบราญ (Koryu jujutsu) และ จูจุสึสมัยใหม่ (Gedai jujutsu หรือ Modern Jujutsu)

โดนจูจุสึแบบโบราณ คือ จูจุสึในสำนักที่ถูกพัฒนามาตั้งแต่สมัยยุคสงคราม ส่วนจูจุสึสมัยใหม่ก็คือจูจุสึที่เกิดขึ้นมาหลังยุคเมจิ เป็นวิชาถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่ โดยมีรากฐานจากจูจุสึแบบดั้งเดิมอีกทีหนึ่ง

แหล่งข้อมูลอื่น