ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปลวสุริยะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต เพิ่ม: hr, sv, uk แก้ไข: fa
บรรทัด 51: บรรทัด 51:
[[en:Solar flare]]
[[en:Solar flare]]
[[es:Erupción solar]]
[[es:Erupción solar]]
[[fa:شراره‌ی خورشیدی]]
[[fa:شراره خورشیدی]]
[[fi:Flare]]
[[fr:Éruption solaire]]
[[fr:Éruption solaire]]
[[ko:태양 플레어]]
[[hr:Sunčeva baklja]]
[[hu:Fler]]
[[id:Semburan matahari]]
[[id:Semburan matahari]]
[[it:Brillamento]]
[[it:Brillamento]]
[[ja:太陽フレア]]
[[ko:태양 플레어]]
[[lb:Sonneneruptioun]]
[[lb:Sonneneruptioun]]
[[hu:Fler]]
[[ml:സൗരജ്വാല]]
[[ml:സൗരജ്വാല]]
[[ms:Suar suria]]
[[ms:Suar suria]]
[[nl:Zonnevlam]]
[[nl:Zonnevlam]]
[[ja:太陽フレア]]
[[no:Solstorm]]
[[no:Solstorm]]
[[pl:Rozbłysk słoneczny]]
[[pl:Rozbłysk słoneczny]]
บรรทัด 69: บรรทัด 71:
[[sk:Slnečná erupcia]]
[[sk:Slnečná erupcia]]
[[sr:Сунчеве бакље]]
[[sr:Сунчеве бакље]]
[[fi:Flare]]
[[sv:Solfackla]]
[[ta:சூரிய நடுக்கம்]]
[[ta:சூரிய நடுக்கம்]]
[[uk:Сонячний спалах]]
[[zh:耀斑]]
[[zh:耀斑]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:43, 16 พฤศจิกายน 2554

ภาพต่อเนื่อง 2 ภาพของปรากฏการณ์เปลวสุริยะที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ โดยตัดแผ่นจานดวงอาทิตย์ออกไปจากภาพเพื่อให้เห็นเปลวได้ชัดเจนขึ้น

เปลวสุริยะ (อังกฤษ: Solar flare) คือการระเบิดใหญ่ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ที่ปลดปล่อยพลังงานออกมาถึง 6 × 1025 จูล[1] (ประมาณ 1 ใน 6 ของพลังงานที่ปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์ทุกวินาที) คำนี้สามารถใช้เรียกปรากฏการณ์ลักษณะเดียวกันที่เกิดขึ้นบนดาวฤกษ์อื่นๆ โดยจะเรียกว่า เปลวดาวฤกษ์ (stellar flare)

เปลวสุริยะส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ทั้งหมด (โฟโตสเฟียร์, โครโมสเฟียร์, และโคโรนา) ทำให้พลาสมามีความร้อนถึงหลายสิบล้านเคลวิน และเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน โปรตอน และไอออนหนักจนเข้าใกล้ความเร็วแสง เกิดการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านข้ามสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทุกช่วงความยาวคลื่น นับตั้งแต่คลื่นวิทยุไปจนถึงรังสีแกมมา เปลวสุริยะส่วนมากจะเกิดขึ้นในย่านแอ็กทีฟเช่น บริเวณจุดมืดดวงอาทิตย์ ซึ่งมีสนามแม่เหล็กกำลังแรง รังสีเอ็กซ์และการแผ่รังสีอุลตราไวโอเล็ตที่แผ่ออกมาโดยเปลวสุริยะสามารถส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศของโลก และทำลายการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุช่วงยาว การปะทะของคลื่นโดยตรงที่ความยาวคลื่นขนาดเดซิเมตรอาจรบกวนการทำงานของเรดาร์และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ทำงานในช่วงความถี่ดังกล่าว

อ้างอิง

  1. Kopp, G. (2005). "The Total Irradiance Monitor (TIM): Science Results". Solar Physics. 20: 129–139. doi:10.1007/s11207-005-7433-9. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น