ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซูเมอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{อารยธรรมเมโสโปเตเมีย}}
{{อารยธรรมเมโสโปเตเมีย}}
'''สุเมเรียน''' ({{lang-en|Sumerians}}) หรือซูเมอร์ เป็นชนชาติแรกที่สร้างความเจริญขึ้นในบริเวณ[[เมโสโปเตเมีย]] เข้ามาอยู่ทางตะวันออกของ[[แม่น้ำไทกริส]]เมื่อประมาณ 4000 ปีก่อนคริสตกาล บริเวณที่เข้ามาตอนแรกคือ [[แคว้นซูเมอร์]]ซึ่งอยู่ทางตอนใต้สุดของเมโสโปเตเมียติดกับ[[อ่าวเปอร์เซีย]] มีลักษณะเป็นนครรัฐ แต่ละนครรัฐมีอิสระไม่ขึ้นต่อกัน เช่น [[ลากาซ]] [[บาบิโลน]] [[อูร์]] [[อูรุค]] [[นิปเปอร์]]
'''ชาวซูเมอร์''' หรือ '''สุเมเรียน''' ({{lang-en|Sumerians}}) เป็นชนชาติแรกที่สร้างความเจริญขึ้นในบริเวณ[[เมโสโปเตเมีย]] เข้ามาอยู่ทางตะวันออกของ[[แม่น้ำไทกริส]]เมื่อประมาณ 4000 ปีก่อนคริสตกาล บริเวณที่เข้ามาตอนแรกคือ [[แคว้นซูเมอร์]]ซึ่งอยู่ทางตอนใต้สุดของเมโสโปเตเมียติดกับ[[อ่าวเปอร์เซีย]] มีลักษณะเป็นนครรัฐ แต่ละนครรัฐมีอิสระไม่ขึ้นต่อกัน เช่น [[ลากาซ]] [[บาบิโลน]] [[อูร์]] [[อูรุก]] [[นิปเปอร์]]


[[ไฟล์:Mesopotamia map.gif|400px|right]]
[[ไฟล์:Mesopotamia map.gif|400px|right]]


== อารยธรรมสุเมเรียน ==
== อารยธรรมซูเมอร์ ==


[[ไฟล์:Sumer1.jpg|thumb|400px|เส้นทางของเกษตรกรที่ใช้ภาษานีโอลิธิกที่อพยพมาพร้อมกับอารยธรรมซามาราสู่บริเวณนี้เมื่อ ประมาณ 6,000ปีก่อน ค.ศ]]
[[ไฟล์:Sumer1.jpg|thumb|400px|เส้นทางของเกษตรกรที่ใช้ภาษานีโอลิทิกที่อพยพมาพร้อมกับอารยธรรมซามาราสู่บริเวณนี้เมื่อ ประมาณ 6,000ปีก่อน ค.ศ]]


=== การปกครอง ===
=== การปกครอง ===

พระหรือนักบวชมีอำนาจมาก พระมีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและเป็นประมุขสูงสุดเรียกว่า Patesi ทำการปกครองในนามของพระเจ้าดูแลควบคุมกิจการภายในนครรัฐ
พระหรือนักบวชมีอำนาจมาก พระมีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและเป็นประมุขสูงสุดเรียกว่า Patesi ทำการปกครองในนามของพระเจ้าดูแลควบคุมกิจการภายในนครรัฐ


บรรทัด 23: บรรทัด 22:
=== การเขียนหนังสือ ===
=== การเขียนหนังสือ ===


ชาวสุเมเรียนเป็นชนชนาติแรกในเมโสโปเตเมียที่รู้จักการเขียนหนังสือตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล โดยการประดิษฐ์[[อักษรรูปลิ่ม]] หรือที่เรียกว่า [[คูนิฟอร์ม]] (Cuneiform) ภายหลังได้ดัดแปลงแก้ไข มีการคิดเครื่องหมายต่างๆ เพื่อใช้แทนภาพ
ชาวซูเมอร์เป็นชนชนาติแรกในเมโสโปเตเมียที่รู้จักการเขียนหนังสือตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล โดยการประดิษฐ์[[อักษรรูปลิ่ม]] หรือที่เรียกว่า [[คูนิฟอร์ม]] (Cuneiform) ภายหลังได้ดัดแปลงแก้ไข มีการคิดเครื่องหมายต่างๆ เพื่อใช้แทนภาพ


=== ศาสนา ===
=== ศาสนา ===


[[ไฟล์:Ziggurat.gif|frame้้|right|ซิกกุรัต]]
[[ไฟล์:Ziggurat.gif|frame|right|ซิกกุรัต]]


มีส่วนสำคัญมากในชีวิตของชาวสุเมเรียน พระดำรงตำแหน่งในการปกครองและตำแหน่งสำคัญอื่นๆ นับถือพระเจ้าหลายองค์พร้อม ๆ กัน มีการสร้างหอวิหารใหญ่โตเรียกว่า [[ซิกกุรัต]] (Ziggurat) เป็นวัดที่มีรูปร่างคล้ายพีระมิด ทำเป็นชั้น ๆ สร้างขึ้นด้วยอิฐ เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า
มีส่วนสำคัญมากในชีวิตของชาวซูเมอร์ พระดำรงตำแหน่งในการปกครองและตำแหน่งสำคัญอื่นๆ นับถือพระเจ้าหลายองค์พร้อม ๆ กัน มีการสร้างหอวิหารใหญ่โตเรียกว่า [[ซิกกุรัต]] (Ziggurat) เป็นวัดที่มีรูปร่างคล้ายพีระมิด ทำเป็นชั้น ๆ สร้างขึ้นด้วยอิฐ เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า


=== สถาปัตยกรรม ===
=== สถาปัตยกรรม ===

ส่วนใหญ่ก่อสร้างด้วยอิฐ เนื่องจากมีดินเหนียวบริเวณนี้มาก มีสองประเภทคือ อิฐตากแห้ง (Sun dried brick) และอิฐเผาไฟ (baked brick) ซึ่งป้องกันความชื้นได้ดี ใช้สร้างยกพื้น กำแพงและส่วนก่อสร้างที่ต้องการความมั่นคงถาวร
ส่วนใหญ่ก่อสร้างด้วยอิฐ เนื่องจากมีดินเหนียวบริเวณนี้มาก มีสองประเภทคือ อิฐตากแห้ง (Sun dried brick) และอิฐเผาไฟ (baked brick) ซึ่งป้องกันความชื้นได้ดี ใช้สร้างยกพื้น กำแพงและส่วนก่อสร้างที่ต้องการความมั่นคงถาวร


บรรทัด 41: บรรทัด 39:


=== วรรณกรรม ===
=== วรรณกรรม ===

มีนิยาย กาพย์ กลอน ซึ่งท่องจำต่อๆกันมา งานส่วนใหญ่เกี่ยวกับศาสนา เช่น บทสวด คำโคลงสดุดีเทพเจ้า ฯลฯ ที่เด่นที่สุดคือ [[มหากาพย์กิลกาเมช]] ซึ่งเป็นเรื่องราวของวีรบุรุษกิลกาเมซซึ่งเป็นกษัตริย์ชาวอูรุก
มีนิยาย กาพย์ กลอน ซึ่งท่องจำต่อๆกันมา งานส่วนใหญ่เกี่ยวกับศาสนา เช่น บทสวด คำโคลงสดุดีเทพเจ้า ฯลฯ ที่เด่นที่สุดคือ [[มหากาพย์กิลกาเมช]] ซึ่งเป็นเรื่องราวของวีรบุรุษกิลกาเมซซึ่งเป็นกษัตริย์ชาวอูรุก


สุเมเรียนมีอำนาจปกครองบริเวณซูเมอร์เกือบพันปี ต่อมาพวก[[ชนเผ่าเซเมติค]]แทรกซึมทางตะวันตก ผู้นำชนเผ่าคือ พระเจ้าซาร์กอนแห่งแอคคัดได้ยกกำลังกองทัพลงมาในเชตซูเมอร์ ทำให้นครรัฐสุเมเรียนยอมแพ้
ชาวซูเมอร์มีอำนาจปกครองบริเวณซูเมอร์เกือบพันปี ต่อมาพวก[[ชนเผ่าเซมิติก]]แทรกซึมทางตะวันตก ผู้นำชนเผ่าคือ พระเจ้าซาร์กอนแห่งแอกแคดได้ยกกำลังกองทัพลงมาในเชตซูเมอร์ ทำให้นครรัฐซูเมอร์ยอมแพ้


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:12, 9 พฤศจิกายน 2554

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
แม่น้ำไทกริสแม่น้ำยูเฟรทีส
เมือง / จักรวรรดิ
ซูเมอร์
เอลาม
จักรวรรดิแอกแคด
แอเมอไรต์:
บาบิโลเนีย: บาบิโลนแคลเดีย
ฮิตไทต์
อัสซีเรีย
ข้อมูลอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ประวัติศาสตร์เมโสโปเตเมีย
ประวัติชาวซูเมอร์ • รายพระนามพระมหากษัตริย์ชาวซูเมอร์
รายพระนามพระมหากษัตริย์อัสซีเรีย
รายพระนามพระมหากษัตริย์บาบิโลเนีย
ภาษา
ซูเมอร์แอกแคดฮิตไทต์

ชาวซูเมอร์ หรือ สุเมเรียน (อังกฤษ: Sumerians) เป็นชนชาติแรกที่สร้างความเจริญขึ้นในบริเวณเมโสโปเตเมีย เข้ามาอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำไทกริสเมื่อประมาณ 4000 ปีก่อนคริสตกาล บริเวณที่เข้ามาตอนแรกคือ แคว้นซูเมอร์ซึ่งอยู่ทางตอนใต้สุดของเมโสโปเตเมียติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีลักษณะเป็นนครรัฐ แต่ละนครรัฐมีอิสระไม่ขึ้นต่อกัน เช่น ลากาซ บาบิโลน อูร์ อูรุก นิปเปอร์

ไฟล์:Mesopotamia map.gif

อารยธรรมซูเมอร์

เส้นทางของเกษตรกรที่ใช้ภาษานีโอลิทิกที่อพยพมาพร้อมกับอารยธรรมซามาราสู่บริเวณนี้เมื่อ ประมาณ 6,000ปีก่อน ค.ศ

การปกครอง

พระหรือนักบวชมีอำนาจมาก พระมีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและเป็นประมุขสูงสุดเรียกว่า Patesi ทำการปกครองในนามของพระเจ้าดูแลควบคุมกิจการภายในนครรัฐ


เศรษฐกิจและสังคม

อาชีพหลักคือเกษตรกรรม มีความชำนาญ มีการใช้ระบบชลประทาน ขุดคลองระบายน้ำ ทำการเพาะปลูกโดยเป็นไร่ขนาดใหญ่ ปลูกผลไม้ ประดิษฐ์คันไถ เครื่องหยอดเมล็ด มีการเลี้ยงสัตว์ เครื่องปั้นดินเผา มีมาตราชั่งตวงวัด การทอผ้าและย้อมผ้า มีการแบ่งชนชั้นทางสังคมเป็น 3 กลุ่มคือ

  1. ชนชั้นสูง ได้แก่ กษัตริย์ พระราชวงศ์ พระชั้นผู้ใหญ่ ขุนนาง
  2. ชนชั้นสามัญ เป็นเสรีชน ลูกจ้างของขุนนาง
  3. ทาส ชาวต่างประเทศและเชลยสงคราม หรืออาชญากรที่ถูกลงโทษ

การเขียนหนังสือ

ชาวซูเมอร์เป็นชนชนาติแรกในเมโสโปเตเมียที่รู้จักการเขียนหนังสือตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล โดยการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่ม หรือที่เรียกว่า คูนิฟอร์ม (Cuneiform) ภายหลังได้ดัดแปลงแก้ไข มีการคิดเครื่องหมายต่างๆ เพื่อใช้แทนภาพ

ศาสนา

ไฟล์:Ziggurat.gif
ซิกกุรัต

มีส่วนสำคัญมากในชีวิตของชาวซูเมอร์ พระดำรงตำแหน่งในการปกครองและตำแหน่งสำคัญอื่นๆ นับถือพระเจ้าหลายองค์พร้อม ๆ กัน มีการสร้างหอวิหารใหญ่โตเรียกว่า ซิกกุรัต (Ziggurat) เป็นวัดที่มีรูปร่างคล้ายพีระมิด ทำเป็นชั้น ๆ สร้างขึ้นด้วยอิฐ เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า

สถาปัตยกรรม

ส่วนใหญ่ก่อสร้างด้วยอิฐ เนื่องจากมีดินเหนียวบริเวณนี้มาก มีสองประเภทคือ อิฐตากแห้ง (Sun dried brick) และอิฐเผาไฟ (baked brick) ซึ่งป้องกันความชื้นได้ดี ใช้สร้างยกพื้น กำแพงและส่วนก่อสร้างที่ต้องการความมั่นคงถาวร

ปฏิทิน

เป็นแบบจันทรคติ เดือนหนึ่งมีประมาณ 29.5 วัน ปีหนึ่งมี 12 เดือน ปีหนึ่งมี 354 วัน เดือนหนึ่งแบ่งออกเป็น 4 สัปดาห์ๆ ละ 7-8 วัน วันหนึ่งแบ่งเป็นกลางวัน 6 ชั่วโมง กลางคืน 6 ชั่วโมง (1 ช.ม. = 2 ช.ม. ในปัจจุบัน)


วรรณกรรม

มีนิยาย กาพย์ กลอน ซึ่งท่องจำต่อๆกันมา งานส่วนใหญ่เกี่ยวกับศาสนา เช่น บทสวด คำโคลงสดุดีเทพเจ้า ฯลฯ ที่เด่นที่สุดคือ มหากาพย์กิลกาเมช ซึ่งเป็นเรื่องราวของวีรบุรุษกิลกาเมซซึ่งเป็นกษัตริย์ชาวอูรุก

ชาวซูเมอร์มีอำนาจปกครองบริเวณซูเมอร์เกือบพันปี ต่อมาพวกชนเผ่าเซมิติกแทรกซึมทางตะวันตก ผู้นำชนเผ่าคือ พระเจ้าซาร์กอนแห่งแอกแคดได้ยกกำลังกองทัพลงมาในเชตซูเมอร์ ทำให้นครรัฐซูเมอร์ยอมแพ้

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA