ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''เครื่องหมายการออกเสียง'''ใน[[ภาษาอาหรับ]]เรียกว่าฮารากัต (harakat حركة, แปลตรงตัว “ความเคลื่อนไหว”) เป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงเสียงสระในภาษาอาหรับ คำว่าฮารากัตในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนไหวในอากาศเมื่อมีการออกเสียงสระ ใน[[ภาษาฮีบรู]]คำว่าสระและความเคลื่อนไหวใช้คำเดียวกันเช่นกันคือ tnuá
'''เครื่องหมายการออกเสียง''' ใน[[ภาษาอาหรับ]]เรียกว่า '''ฮะเราะกาต''' ({{unicode|ḥarakāt}}, {{lang|ar|حركة}} แปลตรงตัว “ความเคลื่อนไหว”) เป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงเสียงสระในภาษาอาหรับ คำว่าฮารากัตในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนไหวในอากาศเมื่อมีการออกเสียงสระ ใน[[ภาษาฮีบรู]]คำว่าสระและความเคลื่อนไหวใช้คำเดียวกันเช่นกันคือ tnuá


== รายชื่อเครื่องหมายในอักษรอาหรับ ==
== รายชื่อเครื่องหมายในอักษรอาหรับ ==
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
เครื่องหมายการออกเสียงที่สำคัญได้แก่
เครื่องหมายการออกเสียงที่สำคัญได้แก่


* [[ฟัตฮะฮ์]] (fatḥa) เป็นเส้นเฉียงบนตัวอักษร แสดงเสียงอะ คำว่า ฟัตฮะหฺ (فتحة) เองหมายถึงการเปิดออก ซึ่งหมายถึงการเปิดออกของริมฝีปาก เพื่อออกเสียงนี้ ตัวอย่าง เช่น
* '''[[ฟัตฮะฮ์]]''' ({{unicode|fatḥah}}) เป็นเส้นเฉียงบนตัวอักษร แสดงเสียงอะ คำว่า ฟัตฮะฮ์ ({{lang|ar|فتحة}}) เองหมายถึงการเปิดออก ซึ่งหมายถึงการเปิดออกของริมฝีปากเพื่อออกเสียงนี้ ตัวอย่าง เช่น
دَ อ่านว่า “ดะ” เมื่อตามด้วยอะลิฟ ا จะแทนเสียงอา เช่น دَا อ่านว่า “ดา”
{{lang|ar|دَ}} อ่านว่า “ดะ” เมื่อตามด้วยอลิฟ {{lang|ar|ا}} จะแทนเสียงอา เช่น {{lang|ar|دَا}} อ่านว่า “ดา”
* [[กัสเราะฮ์]] (kasra) รูปร่างเหมือนฟัตฮะหฺ แต่เขียนไว้ข้างล่าง แสดงเสียงอิ เช่น دِ อ่านว่า “ดิ” ถ้าตามด้วยยาอุ ﻱ แทนเสียงอี เช่น دِي อ่านว่า “ดี”
* '''[[กัสเราะฮ์]]''' ({{unicode|kasrah}}) รูปร่างเหมือนฟัตฮะฮ์ แต่เขียนไว้ข้างล่าง แสดงเสียงอิ เช่น دِ อ่านว่า “ดิ” ถ้าตามด้วยยาอ์ {{lang|ar|}} แทนเสียงอี เช่น {{lang|ar|دِي}} อ่านว่า “ดี”
* [[ฎ็อมมะฮ์]] (damma) เป็นเส้นโค้งขมวดเป็นปม อยู่เหนืออักษร แสดงเสียงอุ เช่น دُ อ่านว่า “ดุ” ถ้าตามด้วยวาว و แทนเสียงอู เช่น دُو อ่านว่า “ดู”
* '''[[ฎ็อมมะฮ์]]''' ({{unicode|ḍammah}}) เป็นเส้นโค้งขมวดเป็นปม อยู่เหนืออักษร แสดงเสียงอุ เช่น {{lang|ar|دُ}} อ่านว่า “ดุ” ถ้าตามด้วยวาว {{lang|ar|و}} แทนเสียงอู เช่น {{lang|ar|دُو}} อ่านว่า “ดู”
* ตันวีน ـً ـٍ ـٌ ใช้กำหนดการลงท้ายทางไวยากรณ์ด้วย /อัน/ /อิน/ และ /อุน/ ในภาษาอาหรับโบราณมักใช้เชื่อมกับอะลิฟ แต่ไม่ค่อยใช้ในภาษาสมัยใหม่
* '''ตันวีน''' ({{unicode|tanwīn}}) {{lang|ar|ـً ـٍ ـٌ}} ใช้กำหนดการลงท้ายทางไวยากรณ์ด้วย /อัน/ /อิน/ และ /อุน/ ในภาษาอาหรับโบราณมักใช้เชื่อมกับอลิฟ แต่ไม่ค่อยใช้ในภาษาสมัยใหม่
* ซุกูน เป็นวงกลมเขียนบนตัวอักษรเพื่อแสดงว่าอักษรนั้นเป็นตัวสะกด และใช้แสดงเสียงสระประสม เช่น อยู่เหนือ[[ยาอุ]]แสดงเสียงสระไอ อยู่เหนือวาวแสดงเสียงสระเอา
* '''ซุกูน''' ({{unicode|sukūn}}) เป็นวงกลมเขียนบนตัวอักษรเพื่อแสดงว่าอักษรนั้นเป็นตัวสะกด และใช้แสดงเสียงสระประสม เช่น อยู่เหนือ[[ยาอ์]]แสดงเสียงสระไอ อยู่เหนือวาวแสดงเสียงสระเอา
* ชัดดะฮ์ เป็นเครื่องหมายคล้าย "w" เมื่อเขียนบนอักษรแสดงว่าให้ออกเสียงอักษรเป็นสองตัวเช่น: دّ [dd]
* '''ชัดดะฮ์''' ({{unicode|šaddah}}) เป็นเครื่องหมายคล้าย "w" เมื่อเขียนบนอักษรแสดงว่าให้ออกเสียงอักษรเป็นสองตัวเช่น: {{lang|ar|دّ}} [dd]
* อักษร ﻱ (yāʼ) (มีจุดสองจุดข้างล่าง) เมื่ออยู่ท้ายคำแทนเสียงอี
* '''อักษร {{lang|ar|}}''' ({{unicode|yāʼ}}) (มีจุดสองจุดข้างล่าง) เมื่ออยู่ท้ายคำแทนเสียงอี
* [[ฮัมซะฮ์]] แสดงเสียง /อ/ ใช้บน[[อะลิฟ]]เมื่ออยู่ต้นคำ โดยใช้ร่วมกับ ฟัตฮะหฺ กัสเราะหฺ หรือ ฎ็อมมะหฺ เมื่อเสียง/อ/อยู่กลางคำใช้อะลิฟเมื่อเป็นเสียงอะเท่านั้น ถ้าเป็นอิหรืออุใช้ฮัมซะหฺบนยาอุหรือวาว เช่น أَخ ([ʡax], พี่ชาย), ِإِسْرَائِيل ([ʡisrāỷīl], [[อิสราเอล]]), أُمْ ([ʡumm], แม่). نَشْأت ([našảt], จุดเริ่มต้น), ِإِسْرَائِيل ([ʡisrāỷīl], อิสราเอล - มีพยางค์ [ỷīl]), ِرَؤُوف ([raw̉ūf], กรุณา) การใช้ฮัมซะหฺในภาษาอาหรับต่างจากภาษาฮีบรูที่ใช้อะลิฟแทนเสียง/อ/เสมอไม่ว่าอยู่ส่วนใดของคำ
* '''[[ฮัมซะฮ์]]''' ({{unicode|hamzah}}) แสดงเสียง /อ/ ใช้บน[[อลิฟ]]เมื่ออยู่ต้นคำ โดยใช้ร่วมกับฟัตฮะฮ์ กัสเราะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์ เมื่อเสียง /อ/ อยู่กลางคำใช้อลิฟเมื่อเป็นเสียงอะเท่านั้น ถ้าเป็นอิหรืออุใช้ฮัมซะฮ์บนยาอ์หรือวาว เช่น {{lang|ar|أَخ}} ({{IPA|[ʡax]}} พี่ชาย), {{lang|ar| ِإِسْرَائِيل}} ([ʡisrāỷīl] [[อิสราเอล]]), {{lang|ar|أُمْ}} ([ʡumm] แม่), {{lang|ar|نَشْأت}} ([našảt] จุดเริ่มต้น), {{lang|ar| ِإِسْرَائِيل}} ([ʡisrāỷīl] อิสราเอล - มีพยางค์ [ỷīl]), {{lang|ar| ِرَؤُوف}} ([raw̉ūf] กรุณา) การใช้ฮัมซะฮ์ในภาษาอาหรับต่างจากภาษาฮีบรูที่ใช้อลิฟแทนเสียง /อ/ เสมอไม่ว่าอยู่ส่วนใดของคำ
* มัดดะ เป็นเส้นโค้งเขียนบนอะลิฟเพื่อแสดงเสียงอา แทนการเขียนอะลิฟสองครั้ง : ﺁ.
* '''มัดดะฮ์''' ({{unicode|maddah}}) เป็นเส้นโค้งเขียนบนอลิฟเพื่อแสดงเสียงอา แทนการเขียนอลิฟสองครั้ง: {{lang|ar|}}
* ภาษาในทวีปแอฟริกาบางภาษาเช่น[[ภาษาฮัวซา]] เพิ่มจุดขนาดใหญ่ใต้อักษรเมื่อต้องการแสดงเสียงเอ
* ภาษาในทวีปแอฟริกาบางภาษาเช่น[[ภาษาฮัวซา]] เพิ่มจุดขนาดใหญ่ใต้อักษรเมื่อต้องการแสดงเสียงเอ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:41, 7 พฤศจิกายน 2554

เครื่องหมายการออกเสียง ในภาษาอาหรับเรียกว่า ฮะเราะกาต (ḥarakāt, حركة แปลตรงตัว “ความเคลื่อนไหว”) เป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงเสียงสระในภาษาอาหรับ คำว่าฮารากัตในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนไหวในอากาศเมื่อมีการออกเสียงสระ ในภาษาฮีบรูคำว่าสระและความเคลื่อนไหวใช้คำเดียวกันเช่นกันคือ tnuá

รายชื่อเครื่องหมายในอักษรอาหรับ

เครื่องหมายการออกเสียงที่สำคัญได้แก่

  • ฟัตฮะฮ์ (fatḥah) เป็นเส้นเฉียงบนตัวอักษร แสดงเสียงอะ คำว่า ฟัตฮะฮ์ (فتحة) เองหมายถึงการเปิดออก ซึ่งหมายถึงการเปิดออกของริมฝีปากเพื่อออกเสียงนี้ ตัวอย่าง เช่น

دَ อ่านว่า “ดะ” เมื่อตามด้วยอลิฟ ا จะแทนเสียงอา เช่น دَا อ่านว่า “ดา”

  • กัสเราะฮ์ (kasrah) รูปร่างเหมือนฟัตฮะฮ์ แต่เขียนไว้ข้างล่าง แสดงเสียงอิ เช่น دِ อ่านว่า “ดิ” ถ้าตามด้วยยาอ์ แทนเสียงอี เช่น دِي อ่านว่า “ดี”
  • ฎ็อมมะฮ์ (ḍammah) เป็นเส้นโค้งขมวดเป็นปม อยู่เหนืออักษร แสดงเสียงอุ เช่น دُ อ่านว่า “ดุ” ถ้าตามด้วยวาว و แทนเสียงอู เช่น دُو อ่านว่า “ดู”
  • ตันวีน (tanwīn) ـً ـٍ ـٌ ใช้กำหนดการลงท้ายทางไวยากรณ์ด้วย /อัน/ /อิน/ และ /อุน/ ในภาษาอาหรับโบราณมักใช้เชื่อมกับอลิฟ แต่ไม่ค่อยใช้ในภาษาสมัยใหม่
  • ซุกูน (sukūn) เป็นวงกลมเขียนบนตัวอักษรเพื่อแสดงว่าอักษรนั้นเป็นตัวสะกด และใช้แสดงเสียงสระประสม เช่น อยู่เหนือยาอ์แสดงเสียงสระไอ อยู่เหนือวาวแสดงเสียงสระเอา
  • ชัดดะฮ์ (šaddah) เป็นเครื่องหมายคล้าย "w" เมื่อเขียนบนอักษรแสดงว่าให้ออกเสียงอักษรเป็นสองตัวเช่น: دّ [dd]
  • อักษร (yāʼ) (มีจุดสองจุดข้างล่าง) เมื่ออยู่ท้ายคำแทนเสียงอี
  • ฮัมซะฮ์ (hamzah) แสดงเสียง /อ/ ใช้บนอลิฟเมื่ออยู่ต้นคำ โดยใช้ร่วมกับฟัตฮะฮ์ กัสเราะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์ เมื่อเสียง /อ/ อยู่กลางคำใช้อลิฟเมื่อเป็นเสียงอะเท่านั้น ถ้าเป็นอิหรืออุใช้ฮัมซะฮ์บนยาอ์หรือวาว เช่น أَخ ([ʡax] พี่ชาย), ِإِسْرَائِيل ([ʡisrāỷīl] อิสราเอล), أُمْ ([ʡumm] แม่), نَشْأت ([našảt] จุดเริ่มต้น), ِإِسْرَائِيل ([ʡisrāỷīl] อิสราเอล - มีพยางค์ [ỷīl]), ِرَؤُوف ([raw̉ūf] กรุณา) การใช้ฮัมซะฮ์ในภาษาอาหรับต่างจากภาษาฮีบรูที่ใช้อลิฟแทนเสียง /อ/ เสมอไม่ว่าอยู่ส่วนใดของคำ
  • มัดดะฮ์ (maddah) เป็นเส้นโค้งเขียนบนอลิฟเพื่อแสดงเสียงอา แทนการเขียนอลิฟสองครั้ง:
  • ภาษาในทวีปแอฟริกาบางภาษาเช่นภาษาฮัวซา เพิ่มจุดขนาดใหญ่ใต้อักษรเมื่อต้องการแสดงเสียงเอ

แหล่งข้อมูลอื่น

อักษรอาหรับ
ه
ประวัติอักษรอาหรับ
เครื่องหมายการออกเสียง
ฟัตฮะฮ์ · กัสเราะฮ์ · ء ·ฎ็อมมะฮ์
เลขอาหรับ