ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรื้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: af, ar, az, be, be-x-old, bg, bn, bo, br, bs, ca, cs, cy, da, de, dv, el, eo, es, eu, fa, fi, fiu-vro, fr, ga, gl, he, hi, hr, hu, id, io, is, it, ja, jv, kk, kn, ko, ku, la, ln, lv, mk, mn, mr, ms, ne, nl...
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
[[หมวดหมู่:โรคเขตร้อน]]
[[หมวดหมู่:โรคเขตร้อน]]


[[af:Melaatsheid]]
[[ar:جذام (مرض)]]
[[az:Cüzam]]
[[be:Лепра]]
[[be-x-old:Лепра]]
[[bg:Проказа]]
[[bn:কুষ্ঠ]]
[[bo:མཛེ་ནད།]]
[[br:Lorgnez]]
[[bs:Lepra]]
[[ca:Lepra]]
[[cs:Lepra]]
[[cy:Gwahanglwyf]]
[[da:Spedalskhed]]
[[de:Lepra]]
[[dv:ޖުޒާމު ބަލި]]
[[el:Νόσος του Χάνσεν]]
[[en:Leprosy]]
[[en:Leprosy]]
[[eo:Lepro]]
[[es:Lepra]]
[[eu:Legenar]]
[[fa:جذام]]
[[fi:Lepra]]
[[fiu-vro:Pital]]
[[fr:Lèpre]]
[[ga:Lobhra]]
[[gl:Lepra]]
[[he:צרעת]]
[[hi:कुष्ठ]]
[[hr:Guba]]
[[hu:Lepra]]
[[id:Penyakit Hansen]]
[[io:Lepro]]
[[is:Holdsveiki]]
[[it:Lebbra]]
[[ja:ハンセン病]]
[[jv:Penyakit Hansen]]
[[kk:Алапес]]
[[kn:ಕುಷ್ಠರೋಗ]]
[[ko:한센병]]
[[ku:Belweşîn]]
[[la:Lepra]]
[[ln:Maba]]
[[lv:Lepra]]
[[mk:Лепра]]
[[mn:Уяман]]
[[mr:कुष्ठरोग]]
[[ms:Penyakit kusta]]
[[ne:कुष्ठरोग]]
[[nl:Lepra]]
[[no:Spedalskhet]]
[[pl:Trąd]]
[[ps:جذام]]
[[pt:Lepra]]
[[qu:Lliqti unquy]]
[[ro:Lepră]]
[[ru:Лепра]]
[[sa:कुष्ठम्]]
[[sah:Араҥ]]
[[scn:Lebbra]]
[[si:ලාදුරු]]
[[simple:Leprosy]]
[[sk:Malomocenstvo]]
[[sl:Gobavost]]
[[sr:Лепра]]
[[su:Lépra]]
[[sv:Lepra]]
[[ta:தொழு நோய்]]
[[te:కుష్టు వ్యాధి]]
[[tl:Ketong]]
[[tr:Cüzzam]]
[[uk:Проказа]]
[[ur:جذام]]
[[vi:Phong cùi]]
[[zh:麻风病]]
[[zh-min-nan:Hansen ê pīⁿ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:53, 6 พฤศจิกายน 2554

โรคเรื้อน (อังกฤษ: Leprosy) หรือ โรคแฮนเซน (อังกฤษ: Hansen's disease, ย่อ: HD) เป็นโรคเรื้อรังอันเกิดจากแบคทีเรีย Mycobacterium leprae และ Mycobacterium lepromatosis ตั้งตามชื่อแพทย์เจอร์ราด แฮนเซน (Gerhard Hansen) ชาวนอร์เวย์ โรคเรื้อนหลัก ๆ เป็นโรคผิวหนังเส้นประสาทส่วนปลายและเยื่อเมือกระบบทางเดินหายใจส่วนบน รอยโรคที่ผิวหนังเป็นสัญญาณภายนอกหลักอย่างหนึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา โรคเรื้อนอาจลุกลาม และสร้างความเสียหายถาวรต่อผิวหนัง เส้นประสาท แขนขาและตาได้ คติชาวบ้านมักเชื่อว่าโรคเรื้อนทำให้ส่วนของร่ายกายหลุดออกมา แต่คตินี้ไม่เป็นความจริง แม้ส่วนนั้นอาจชาหรือเป็นโรคจากการติดเชื้อทุติยภูมิ ซึ่งเกิดขึ้นหลังภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อปฐมภูมิ การติดเชื้อทุติยภูมิสามารถส่งผลให้สูญเสียเนื้อเยื่อตามลำดับ ทำให้นิ้วมือและนิ้วเท้าสั้นลงและผิดรูปร่าง เพราะกระดูกอ่อนถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย

แม้วิธีการส่งผ่านโรคเรื้อนจะยังไม่ทราบแน่ชัด ผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า M. leprae ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งโดยฝอยละออง การศึกษาได้แสดงว่า โรคเรื้อนสามารถส่งผ่านไปยังมนุษย์ได้โดยอาร์มาดิลโล ปัจจุบันนี้ โรคเรื้อนทราบกันว่า ไม่ส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้ออย่างรุนแรงหลังได้รับการรักษาแล้ว มนุษย์กว่า 95% มีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ และผู้ป่วยจะไม่แพร่เชื้อหลังรักษาแล้วเพียง 2 สัปดาห์

ระยะฟักตัวน้อยสุดมีรายงานว่าสั้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ ตามการเกิดโรคเรื้อนขึ้นอย่างน้อยครั้งมากในทารก ระยะฟักตัวมากสุดมีรายงานว่านานถึง 30 ปีหรือมากกว่า ดังที่สังเกตหมู่ทหารผ่านศึกที่เคยไปอยู่ในพื้นที่การระบาดช่วงสั้น ๆ แต่ปัจจุบันได้อยู่ในพื้นที่ไม่มีการระบาด เป็นที่ตกลงกันทั่วไปว่าระยะฟักตัวเฉลี่ยอยู่ระหว่างสามถึงห้าปี

โรคเรื้อนได้มีผลต่อมนุษยชาติมานานกว่า 4,000 ปีแล้ว และเป็นที่รู้จักกันดีในอารยธรรมจีน อียิปต์และอินเดียโบราณ ค.ศ. 1995 องค์การอนามัยโลกประเมินว่า ประชากรโลกระหว่าง 2 และ 3 ล้านคน พิการถาวรเพราะโรคเรื้อนในขณะนั้น ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ประชากรโลก 15 ล้านคนได้รับการรักษาโรคเรื้อน แม้การบังคับกักกันหรือการแยกผู้ป่วยออกนั้นไม่จำเป็นในสถานที่ซึ่งมีการรักษา หลายพื้นที่ของโลกยังมีนิคมโรคเรื้อนอยู่ เคยเชื่อกันว่า โรคเรื้อนติดต่อทางสัมผัสและรักษาได้ด้วยปรอท ซึ่งทั้งหมดเป็นลักษณะของซิฟิลิส ซึ่งอธิบายครั้งแรกใน ค.ศ. 1530 ปัจจุบัน เชื่อกันว่าผู้ป่วยโรคเรื้อนสมัยโบราณหลายคนอาจเป็นโรคซิฟิลิส