ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาคำโสม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
'''พระเจ้าคำโสม''' ราชบุตรองค์ที่ ๒ ของ[[เจ้าฟ้าชายแก้วสิงหราชธานี]] ได้ครองนครลำปางสืบต่อจากเจ้าพี่ ([[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ|เจ้ากาวิละ]]) พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๗ ชนมายุได้ ๕๐ ชันษา พระเจ้าคำโสมสมรสกับเจ้าหญิงตุมมา
'''พระเจ้าคำโสม''' ราชบุตรองค์ที่ ๒ ของ[[เจ้าฟ้าชายแก้วสิงหราชธานี]] ได้ครองนครลำปางสืบต่อจากเจ้าพี่ ([[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ|เจ้ากาวิละ]]) พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๗ ชนมายุได้ ๕๐ ชันษา พระเจ้าคำโสมสมรสกับเจ้าหญิงตุมมา


พระเจ้าคำโสมทรงสร้าง [[วัดบุญวาทย์]] [[วัดป่าดัวะ]] [[วัดศรีเกิด]] และ[[วัดหมื่นกาด]]
พระเจ้าคำโสมทรงสร้าง [[วัดบุญวาทย์]] [[วัดป่าดัวะ]] [[วัดศรีเกิด]] และ[[วัดหมื่นกาด]]


พระเจ้าคำโสม มีพระอนุชาและพระขนิษฐารวม ๑๐ พระองค์ (หญิง ๓ ชาย ๗) (เจ้าชายทั้ง ๗ พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้ทรงมีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
พระเจ้าคำโสม มีพระอนุชาและพระขนิษฐารวม ๑๐ พระองค์ (หญิง ๓ ชาย ๗) (เจ้าชายทั้ง ๗ พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้ทรงมีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้<ref>คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์ , นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]</ref>


* [[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ]] พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๑ (นับเป็น "พระเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๓" ใน "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)")
* [[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ]] พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๑ (นับเป็น "พระเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๓" ใน "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)")
บรรทัด 17: บรรทัด 16:
* เจ้าหญิงสรีบุญทัน (พิราลัยแต่เยาว์)
* เจ้าหญิงสรีบุญทัน (พิราลัยแต่เยาว์)
* [[พระเจ้าบุญมาเมือง]] พระเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ ๒
* [[พระเจ้าบุญมาเมือง]] พระเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ ๒

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ ๒) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, ๒๕๓๘.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, ๒๕๔๐.
* ศักดิ์ รัตนชัย. '''พงศาวดารสุวรรณหอคำนครลำปาง (ตำนานเจ้าเจ็ดพระองค์กับหอคำมงคล ฉบับสอบทานกับเอกสารสืบค้น สรสว.ลำปาง) '''.
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๙.
* คณะทายาทสายสกุล เจ้าหลวงเมืองพะเยา, สถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก. '''ครบรอบ ๑๐๐ ปี แม่เจ้าทรายมูล (มหาวงศ์) ไชยเมือง และประวัติสายสกุลเจ้าหลวงเมืองพะเยา พุทธศักราช ๒๓๘๗ - ๒๔๕๖'''. พะเยา :บ.ฮาซัน พริ้นติ้ง จก., ๒๕๔๖
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, ๒๕๓๙.


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 31: บรรทัด 39:


{{เรียงลำดับ|คำโสม}}
{{เรียงลำดับ|คำโสม}}
[[หมวดหมู่:ณ ลำปาง]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง| 4]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง| 4]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:27, 29 ตุลาคม 2554

พระเจ้าคำโสม ราชบุตรองค์ที่ ๒ ของเจ้าฟ้าชายแก้วสิงหราชธานี ได้ครองนครลำปางสืบต่อจากเจ้าพี่ (เจ้ากาวิละ) พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๗ ชนมายุได้ ๕๐ ชันษา พระเจ้าคำโสมสมรสกับเจ้าหญิงตุมมา

พระเจ้าคำโสมทรงสร้าง วัดบุญวาทย์ วัดป่าดัวะ วัดศรีเกิด และวัดหมื่นกาด

พระเจ้าคำโสม มีพระอนุชาและพระขนิษฐารวม ๑๐ พระองค์ (หญิง ๓ ชาย ๗) (เจ้าชายทั้ง ๗ พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้ทรงมีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้[1]

อ้างอิง

  1. คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์ , นาวาอากาศเอก. เจ้านายฝ่ายเหนือ. [1]
  • ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. เพ็ชร์ล้านนา. (ครั้งที่ ๒) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, ๒๕๓๘.
  • สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) . เชียงใหม่: มิ่งเมือง, ๒๕๔๐.
  • ศักดิ์ รัตนชัย. พงศาวดารสุวรรณหอคำนครลำปาง (ตำนานเจ้าเจ็ดพระองค์กับหอคำมงคล ฉบับสอบทานกับเอกสารสืบค้น สรสว.ลำปาง) .
  • เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. เจ้าหลวงเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๙.
  • คณะทายาทสายสกุล เจ้าหลวงเมืองพะเยา, สถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก. ครบรอบ ๑๐๐ ปี แม่เจ้าทรายมูล (มหาวงศ์) ไชยเมือง และประวัติสายสกุลเจ้าหลวงเมืองพะเยา พุทธศักราช ๒๓๘๗ - ๒๔๕๖. พะเยา :บ.ฮาซัน พริ้นติ้ง จก., ๒๕๔๖
  • นงเยาว์ กาญจนจารี. ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, ๒๕๓๙.
ก่อนหน้า พระยาคำโสม ถัดไป
สมเด็จพระเจ้ากาวิละ เจ้าผู้ครองนครลำปาง
(พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2337)
พระเจ้าดวงทิพย์