ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


หัวหน้าคนร้ายบอกว่า พวกเขามาจากหน่วยฆ่าตัวตายของ "กองพลที่ 29"<ref name="chechens">[http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=9E0CE2D6123CF937A15753C1A9649C8B63&scp=6&sq=Nord+Ost&st=nyt Chechens Seize Moscow Theater, Taking as Many as 600 Hostages], ''[[The New York Times]]'', 24 October 2002</ref> และว่า พวกเขาไม่มีความบาดหมางกับชาวต่างชาติ (ราว 75 คน จาก 14 ประเทศ รวมทั้งออสเตรเลีย เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ยูเครน สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา) และสัญญาจะปล่อยทุกคนที่แสดงพาสปอร์ตต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม นักเจรจารัสเซียปฏิเสธที่จะยอมรับข้อเสนอนี้ และยืนยันให้ทุกคนถูกปล่อยตัวพร้อมกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกระหว่างชาวต่างชาติกับชาวรัสเซีย<ref>[http://www.moscowtimes.ru/stories/2007/10/22/002.html ''A Foreigner's Nightmare in Dubrovka''], ''[[The Moscow Times]]'', 22 October 2007</ref>
หัวหน้าคนร้ายบอกว่า พวกเขามาจากหน่วยฆ่าตัวตายของ "กองพลที่ 29"<ref name="chechens">[http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=9E0CE2D6123CF937A15753C1A9649C8B63&scp=6&sq=Nord+Ost&st=nyt Chechens Seize Moscow Theater, Taking as Many as 600 Hostages], ''[[The New York Times]]'', 24 October 2002</ref> และว่า พวกเขาไม่มีความบาดหมางกับชาวต่างชาติ (ราว 75 คน จาก 14 ประเทศ รวมทั้งออสเตรเลีย เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ยูเครน สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา) และสัญญาจะปล่อยทุกคนที่แสดงพาสปอร์ตต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม นักเจรจารัสเซียปฏิเสธที่จะยอมรับข้อเสนอนี้ และยืนยันให้ทุกคนถูกปล่อยตัวพร้อมกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกระหว่างชาวต่างชาติกับชาวรัสเซีย<ref>[http://www.moscowtimes.ru/stories/2007/10/22/002.html ''A Foreigner's Nightmare in Dubrovka''], ''[[The Moscow Times]]'', 22 October 2007</ref>

การสนทนาด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างตัวประกันที่ถูกจับอยู่ในโรงละครกับครอบครัว เปิดเผยว่า ผู้จับตะวประกันมีระเบิดมือ ทุ่นระเบิดและ[[ระเบิดแสวงเครื่อง]]ผูกรัดอยู่ตามร่างกาย และวางระเบิดเพิ่มไว้ทั่วโรงละคร ระเบิดส่วนใหญ่นี้ (รวมทั้งทั้งหมดที่นักรบหญิงสวม) ถูกพบภายหลังว่าเป็นของปลอมใช้ในทางทหาร<ref name="part1">[http://www.rferl.org/reports/corruptionwatch/2003/12/42-181203.asp The October 2002 Moscow Hostage-Taking Incident (Part 1)] by John B. Dunlop, [[Radio Free Europe]] Reports, 18 December 2003.</ref><ref>[http://www.hudson.org/index.cfm?fuseaction=publication_details&id=3538&pubType=HI_Opeds Slaughter in Beslan], [[Hudson Institute]], 23 November 2004</ref> ส่วนที่เหลือนั้นไม่มีตัวจุดระเบิดหรือถอดแบตเตอรีออกแล้ว<ref>{{ru icon}} [http://www.echo.msk.ru/programs/albac/55756/ Норд-Ост: 5 лет], [[Echo of Moscow]], 21 October 2007</ref> นักเจรจาและหน่วยรบพิเศษรัสเซียไม่อาจมั่นใจได้ในเวลานั้น แต่ก่อนหน้าการล้อม ขณะที่มีการเตรียมระเบิด เจ้าหน้าที่สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติรัสเซีย (FSB) ผู้แทรกซึมเครือข่ายขนส่งเชเชนจีฮัดได้บ่อนทำลายอุปกรณ์หลายอย่างด้วยแบตเตอรีใช้หมด และตัวเร่งหรือดินเร่งที่ไม่พอสำหรับจุดระเบิด คนร้ายใช้ชื่อภาษาอาหรับในหมู่พวกเขาเอง และผู้ก่อการร้ายหญิงสวมเสื้อผ้าบุรกาแบบอาหรับ ซึ่งผิดปกติอย่างมากในเขตคอเคซัสเหนือ<ref name="dark">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/2565585.stm Moscow siege leaves dark memories], [[BBC News]], 16 December 2002</ref>
มีการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกับตัวประกัน ซึ่งได้เล่าว่ามีผู้หญิงชาวเชเชนที่แต่งกายด้วยเสื้อผ้าแบบอาหรับที่นิยมกันในแถบคอเคซัสเหนือ ส่วนผู้ชายพูด[[ภาษาอาหรับ]] และมีระเบิดพันตามร่างกายอีกทั้งยังติดระเบิดใว้ตามอาคารที่เป็นที่กักตัวประกัน (ซึ่งในภายหลังพบว่าเป็นระเบิดปลอม) ทางส่วนผู้นำชาวเชเชน - อิสลามที่นิยมรัซเซียได้ประณามการจับตัวประกันในครั้งนี้ และโฆษก กบฏเชเชนเองก็ประณามการทำร้ายพลเรือนด้วยแต่บอกว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องผู้ก่อการในครั้งนี้ และหลังจากการควบคุมตัวประกันได้ไม่นาน ก็ได้มีการปล่อยผู้หญิงท้อง เด็ก ชาวมุสลิม และ ชาวต่างชาติบางส่วนที่มีปัญหาทางสุขภาพประมาณ 150 - 200 คน ให้เป็นอิสระ แต่ก็ยังมีการยิงผู้หญิง 1 คน ที่ชาวเชเชนเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยแห่งสหพันธ์รัสเซีย หรือ Federal Security Service (FSB) ที่มีชื่อว่า ออลกา โรมานอว่า เพราะเธอได้พูดปลุกเร้าจิตใจให้ตัวประกันลุกขึ้นมาต่อต้านชาวเชเชนเหล่านี้

ผู้นำชาวเชเชน - อิสลามที่นิยมรัซเซียได้ประณามการจับตัวประกันในครั้งนี้ และโฆษกกบฏเชเชนเองก็ประณามการทำร้ายพลเรือนด้วยแต่บอกว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องผู้ก่อการในครั้งนี้ และหลังจากการควบคุมตัวประกันได้ไม่นาน ก็ได้มีการปล่อยผู้หญิงท้อง เด็ก ชาวมุสลิม และ ชาวต่างชาติบางส่วนที่มีปัญหาทางสุขภาพประมาณ 150 - 200 คน ให้เป็นอิสระ แต่ก็ยังมีการยิงผู้หญิง 1 คน ที่ชาวเชเชนเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยแห่งสหพันธ์รัสเซีย (FSB) ที่มีชื่อว่า ออลกา โรมานอว่า เพราะเธอได้พูดปลุกเร้าจิตใจให้ตัวประกันลุกขึ้นมาต่อต้านชาวเชเชนเหล่านี้


ในวันถัดมาวันที่ [[24 ตุลาคม]] การจับตัวประกันครั้งนี้เป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก ทำให้[[วลาดิเมียร์ ปูติน|ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน]] ของ[[รัสเซีย]]ต้องยกเลิกการเดินทางไปประชุมกับ[[จอร์จ ดับเบิลยู บุช|ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช]] และมีคนดังๆ อย่างเช่น [[มิคาอิล กอร์บาชอฟ|อดีตประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟ]] ของ[[สหภาพโซเวียต|อดีตสหภาพโซเวียต]]มาช่วยเจรจา มีข้อเสนอมากมาย เช่น ให้ผู้เข้าจับตัวประกันลี้ภัยไปอยู่ในประเทศที่ 3 แต่ก็ไม่มีการตอบรับ แต่ก็มีการปล่อยตัวประกันออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกับมีการนำอาหาร และ ยา โดยแพทย์ และ องค์การกาชาดสากลเข้าไปให้ตัวประกัน ซึ่งพวกเขาได้บอกว่าตัวประกันอยู่ในสภาพค่อนข้างดี ไม่มีการทำร้ายตัวประกันแต่ก็มี 2 - 3 คน ที่ตกใจกลัวอย่างมาก ในช่วงพลบค่ำของคืนวันนั้นก็มีการยิงใส่ผู้ชายคนหนึ่งที่ชื่อ เจเนดี วลากค์ เพราะเขาวิ่งเขาไปในอาคารโรงละครโดยอ้างว่ามีลูกชายติดเป็นตัวประกัน ในนั้น และราวเที่ยงคืนก็มีตัวประกันชายที่วิ่งเข้าไปหาผู้หญิงชาวเชเชนที่มีระเบิด แต่ผู้ชายชาวเชเชนยิงปืนเข้าใส่กระสุนพลาดไปโดนตัวประกันหญิง 2 คน ก็คือ ทามาร่า สตาร์โคว่า และ พาร์เวล ซาร์คารอฟ บาดเจ็บสาหัสจนต้องถูกนำออกมารักษาตัวข้างนอก ต่อมาในคืนวันที่ [[25 ตุลาคม]] มีข่าวมาว่าจะเริ่มการเจรจาอย่างจริงจังแต่ก็มีข่าวรั่วมาว่าจะมีการบุกชิงตัวประกันในเช้ามืดที่จะมาถึง เมื่อเวลา 05.00 น. ของวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 2002]] เริ่มมีการปั๊มแก็สเข้ามาทางท่อระบายอากาศของตัวอาคารของโรงละคร ตัวประกันก็เริ่มสังเกตเห็นควันและคิดว่ามีการเกิดเพลิงใหม้ มีการโทรศัพท์ออกมาจากหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ แอนนา แอนเดียนอว่า ซึ่งเป็นนักข่าวโทรมายังสถานีวิทยุ Echo of Moscow ว่าทั้งตัวประกันและชาวเชเชนในโรงละครทุกคนไม่อยากตายและขวัญเสียเป็นอย่างมาก มีการยิงออกมาจากอาคาร ใส่ที่ตั้งของทหารรัซเซียข้างนอก แต่ไม่ได้มีการระเบิด หรือยิงตัวประกันแต่อย่างใด ประมาณ 30 นาทีหลังจากการปั๊มแก็สที่คาดกันว่าเป็น 3-methyl fentanyl หรือ Kolokol-1 (ซึ่งทางการรัสเซียไม่ได้ออกมาแถลงอย่างแน่ชัดว่าเป็นชนิดใด) และก็เกิดการยิงกันอีกราว 1 ชั่วโมง ชาวเชนที่ถูกยิงมีทั้งหญิงและชายแต่ไม่ทราบตัวเลขที่แน่นอน สุดท้ายมีชาวเชเชนเสียชีวิต 33 คน ตัวประกันเสียชีวิต 129 คน (มีเพียงคนเดียวที่เสียชีวิตจากการถูกยิง ที่เหลือเสียชีวิตจากแก็สและการช่วยเหลือที่ล่าช้า)
ในวันถัดมาวันที่ [[24 ตุลาคม]] การจับตัวประกันครั้งนี้เป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก ทำให้[[วลาดิเมียร์ ปูติน|ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน]] ของ[[รัสเซีย]]ต้องยกเลิกการเดินทางไปประชุมกับ[[จอร์จ ดับเบิลยู บุช|ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช]] และมีคนดังๆ อย่างเช่น [[มิคาอิล กอร์บาชอฟ|อดีตประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟ]] ของ[[สหภาพโซเวียต|อดีตสหภาพโซเวียต]]มาช่วยเจรจา มีข้อเสนอมากมาย เช่น ให้ผู้เข้าจับตัวประกันลี้ภัยไปอยู่ในประเทศที่ 3 แต่ก็ไม่มีการตอบรับ แต่ก็มีการปล่อยตัวประกันออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกับมีการนำอาหาร และ ยา โดยแพทย์ และ องค์การกาชาดสากลเข้าไปให้ตัวประกัน ซึ่งพวกเขาได้บอกว่าตัวประกันอยู่ในสภาพค่อนข้างดี ไม่มีการทำร้ายตัวประกันแต่ก็มี 2 - 3 คน ที่ตกใจกลัวอย่างมาก ในช่วงพลบค่ำของคืนวันนั้นก็มีการยิงใส่ผู้ชายคนหนึ่งที่ชื่อ เจเนดี วลากค์ เพราะเขาวิ่งเขาไปในอาคารโรงละครโดยอ้างว่ามีลูกชายติดเป็นตัวประกัน ในนั้น และราวเที่ยงคืนก็มีตัวประกันชายที่วิ่งเข้าไปหาผู้หญิงชาวเชเชนที่มีระเบิด แต่ผู้ชายชาวเชเชนยิงปืนเข้าใส่กระสุนพลาดไปโดนตัวประกันหญิง 2 คน ก็คือ ทามาร่า สตาร์โคว่า และ พาร์เวล ซาร์คารอฟ บาดเจ็บสาหัสจนต้องถูกนำออกมารักษาตัวข้างนอก ต่อมาในคืนวันที่ [[25 ตุลาคม]] มีข่าวมาว่าจะเริ่มการเจรจาอย่างจริงจังแต่ก็มีข่าวรั่วมาว่าจะมีการบุกชิงตัวประกันในเช้ามืดที่จะมาถึง เมื่อเวลา 05.00 น. ของวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 2002]] เริ่มมีการปั๊มแก็สเข้ามาทางท่อระบายอากาศของตัวอาคารของโรงละคร ตัวประกันก็เริ่มสังเกตเห็นควันและคิดว่ามีการเกิดเพลิงใหม้ มีการโทรศัพท์ออกมาจากหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ แอนนา แอนเดียนอว่า ซึ่งเป็นนักข่าวโทรมายังสถานีวิทยุ Echo of Moscow ว่าทั้งตัวประกันและชาวเชเชนในโรงละครทุกคนไม่อยากตายและขวัญเสียเป็นอย่างมาก มีการยิงออกมาจากอาคาร ใส่ที่ตั้งของทหารรัซเซียข้างนอก แต่ไม่ได้มีการระเบิด หรือยิงตัวประกันแต่อย่างใด ประมาณ 30 นาทีหลังจากการปั๊มแก็สที่คาดกันว่าเป็น 3-methyl fentanyl หรือ Kolokol-1 (ซึ่งทางการรัสเซียไม่ได้ออกมาแถลงอย่างแน่ชัดว่าเป็นชนิดใด) และก็เกิดการยิงกันอีกราว 1 ชั่วโมง ชาวเชนที่ถูกยิงมีทั้งหญิงและชายแต่ไม่ทราบตัวเลขที่แน่นอน สุดท้ายมีชาวเชเชนเสียชีวิต 33 คน ตัวประกันเสียชีวิต 129 คน (มีเพียงคนเดียวที่เสียชีวิตจากการถูกยิง ที่เหลือเสียชีวิตจากแก็สและการช่วยเหลือที่ล่าช้า)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:57, 23 ตุลาคม 2554

ไฟล์:Nordost-dubrovka.jpg
อนุสรณ์สถานแก่เหยื่อในวิกฤตการณ์ตัวประกัน

วิกฤตการจับตัวประกันในโรงละครมอสโก (อังกฤษ: Moscow theatre hostage crisis) หรือ การล้อมนอร์ด-โอสท์ พ.ศ. 2545 (อังกฤษ: 2002 Nord-Ost siege) เป็นการยึดโรงละครซึ่งเต็มไปด้วยผู้คนเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2545 โดยกลุ่มติดอาวุธเชเชนราว 40 ถึง 50 คน ที่อ้างความภักดีต่อขบวนการแบ่งแยกดินแดนอิสลามในเชชเนีย[1] คนร้ายจับตัวประกัน 850 คน และเรียกร้องให้ถอนกำลังรัสเซียออกจากเชชเนีย และยุติสงรามเชชเนียครั้งที่สอง การล้อมนี้อยู่ภายใต้การนำอย่างเป็นทางการของมอฟซาร์ บาราเยฟ หลังการล้อมนานสองวันครึ่ง กองกำลังสเปซนาซของรัสเซียได้สูบสารเคมีไม่ทราบชื่อ (คาดว่าเป็นเฟนตานิล หรือ 3-เมทิลเฟนตานิล) เข้าไปในระบบระบายอากาศของอาคารและโจมตี[1]

คนร้าย 39 คนถูกสังหารโดยกองทัพรัสเซีย เช่นเดียวกับตัวประกันอย่างน้อย 129 คน (ซึ่งรวมชาวต่างชาติเก้าคน) ตัวประกันเกือบทั้งหมดที่เสียชีวิตในเหตุการณ์เสียชีวิตจากสารพิษที่สูบเข้าไปในโรงละครที่ตั้งใจใช้กับคนร้าย[2][3] การใช้แก๊สดังกล่าวถูกประณามอย่างกว้างขวางว่า "มือหนัก" แต่รัฐบาลรัสเซียยืนยันว่า ตนมีพื้นที่น้อยมากสำหรับกลวิธี โดยเผชิญหน้ากับกบฏติดอาวุธหนัก 50 คนที่เตรียมฆ่าตัวตายและตัวประกัน[4] แพทย์ในกรุงมอสโกประณามการปฏิเสธที่จะเปิดเผยเอกลักษณ์ของแก๊ส ซึ่งทำให้แพทย์ไม่สามารถช่วยชีวิตได้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี บางรายงานว่า ยานาลอกโซนสามารถใช้ช่วยชีวิตตัวประกันบางคนอย่างได้ผล[5] รวมแล้วมีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ทั้งสิ้นประมาณ 170 คน

เหตุการณ์การจับตัวประกัน

เหตุการณ์เริ่มขึ้นไม่นานหลังเริ่มการแสดงละคร เวลา 21.05 น. ของวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ได้มีรถบัสบรรทุกทั้งชายและหญิงในชุดดำลายพราง สวมหน้ากาก และติดอาวุธหนัก และจับตัวประกันราว 850-900 คน รวมทั้งผู้ชมและนักแสดง ในจำนวนนี้มีพลเอกจากกระทรวงมหาดไทยด้วย ปฏิกิริยาของผู้ชมในโรงละครต่อข่าวว่าโรงละครถูกผู้ก่อการร้ายยึดไว้คละกันไป บ่างคนยังสงบ บางคนควบคุมตนเองไม่ได้ และบางคนหมดสติไป นักแสดงบางคนที่กำลังพักอยู่หลังเวทีหลบหนีออกไปทางหน้าต่างและเรียกตำรวจ รวมแล้ว มีราว 90 คนสามารถหลบหนีจากอาคารหรือซ่อนตัว

หัวหน้าคนร้ายบอกว่า พวกเขามาจากหน่วยฆ่าตัวตายของ "กองพลที่ 29"[6] และว่า พวกเขาไม่มีความบาดหมางกับชาวต่างชาติ (ราว 75 คน จาก 14 ประเทศ รวมทั้งออสเตรเลีย เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ยูเครน สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา) และสัญญาจะปล่อยทุกคนที่แสดงพาสปอร์ตต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม นักเจรจารัสเซียปฏิเสธที่จะยอมรับข้อเสนอนี้ และยืนยันให้ทุกคนถูกปล่อยตัวพร้อมกัน โดยไม่มีการแบ่งแยกระหว่างชาวต่างชาติกับชาวรัสเซีย[7]

การสนทนาด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างตัวประกันที่ถูกจับอยู่ในโรงละครกับครอบครัว เปิดเผยว่า ผู้จับตะวประกันมีระเบิดมือ ทุ่นระเบิดและระเบิดแสวงเครื่องผูกรัดอยู่ตามร่างกาย และวางระเบิดเพิ่มไว้ทั่วโรงละคร ระเบิดส่วนใหญ่นี้ (รวมทั้งทั้งหมดที่นักรบหญิงสวม) ถูกพบภายหลังว่าเป็นของปลอมใช้ในทางทหาร[8][9] ส่วนที่เหลือนั้นไม่มีตัวจุดระเบิดหรือถอดแบตเตอรีออกแล้ว[10] นักเจรจาและหน่วยรบพิเศษรัสเซียไม่อาจมั่นใจได้ในเวลานั้น แต่ก่อนหน้าการล้อม ขณะที่มีการเตรียมระเบิด เจ้าหน้าที่สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติรัสเซีย (FSB) ผู้แทรกซึมเครือข่ายขนส่งเชเชนจีฮัดได้บ่อนทำลายอุปกรณ์หลายอย่างด้วยแบตเตอรีใช้หมด และตัวเร่งหรือดินเร่งที่ไม่พอสำหรับจุดระเบิด คนร้ายใช้ชื่อภาษาอาหรับในหมู่พวกเขาเอง และผู้ก่อการร้ายหญิงสวมเสื้อผ้าบุรกาแบบอาหรับ ซึ่งผิดปกติอย่างมากในเขตคอเคซัสเหนือ[11]

ผู้นำชาวเชเชน - อิสลามที่นิยมรัซเซียได้ประณามการจับตัวประกันในครั้งนี้ และโฆษกกบฏเชเชนเองก็ประณามการทำร้ายพลเรือนด้วยแต่บอกว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องผู้ก่อการในครั้งนี้ และหลังจากการควบคุมตัวประกันได้ไม่นาน ก็ได้มีการปล่อยผู้หญิงท้อง เด็ก ชาวมุสลิม และ ชาวต่างชาติบางส่วนที่มีปัญหาทางสุขภาพประมาณ 150 - 200 คน ให้เป็นอิสระ แต่ก็ยังมีการยิงผู้หญิง 1 คน ที่ชาวเชเชนเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยแห่งสหพันธ์รัสเซีย (FSB) ที่มีชื่อว่า ออลกา โรมานอว่า เพราะเธอได้พูดปลุกเร้าจิตใจให้ตัวประกันลุกขึ้นมาต่อต้านชาวเชเชนเหล่านี้

ในวันถัดมาวันที่ 24 ตุลาคม การจับตัวประกันครั้งนี้เป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก ทำให้ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ของรัสเซียต้องยกเลิกการเดินทางไปประชุมกับประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช และมีคนดังๆ อย่างเช่น อดีตประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟ ของอดีตสหภาพโซเวียตมาช่วยเจรจา มีข้อเสนอมากมาย เช่น ให้ผู้เข้าจับตัวประกันลี้ภัยไปอยู่ในประเทศที่ 3 แต่ก็ไม่มีการตอบรับ แต่ก็มีการปล่อยตัวประกันออกมาเป็นระยะๆ พร้อมกับมีการนำอาหาร และ ยา โดยแพทย์ และ องค์การกาชาดสากลเข้าไปให้ตัวประกัน ซึ่งพวกเขาได้บอกว่าตัวประกันอยู่ในสภาพค่อนข้างดี ไม่มีการทำร้ายตัวประกันแต่ก็มี 2 - 3 คน ที่ตกใจกลัวอย่างมาก ในช่วงพลบค่ำของคืนวันนั้นก็มีการยิงใส่ผู้ชายคนหนึ่งที่ชื่อ เจเนดี วลากค์ เพราะเขาวิ่งเขาไปในอาคารโรงละครโดยอ้างว่ามีลูกชายติดเป็นตัวประกัน ในนั้น และราวเที่ยงคืนก็มีตัวประกันชายที่วิ่งเข้าไปหาผู้หญิงชาวเชเชนที่มีระเบิด แต่ผู้ชายชาวเชเชนยิงปืนเข้าใส่กระสุนพลาดไปโดนตัวประกันหญิง 2 คน ก็คือ ทามาร่า สตาร์โคว่า และ พาร์เวล ซาร์คารอฟ บาดเจ็บสาหัสจนต้องถูกนำออกมารักษาตัวข้างนอก ต่อมาในคืนวันที่ 25 ตุลาคม มีข่าวมาว่าจะเริ่มการเจรจาอย่างจริงจังแต่ก็มีข่าวรั่วมาว่าจะมีการบุกชิงตัวประกันในเช้ามืดที่จะมาถึง เมื่อเวลา 05.00 น. ของวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 2002 เริ่มมีการปั๊มแก็สเข้ามาทางท่อระบายอากาศของตัวอาคารของโรงละคร ตัวประกันก็เริ่มสังเกตเห็นควันและคิดว่ามีการเกิดเพลิงใหม้ มีการโทรศัพท์ออกมาจากหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ แอนนา แอนเดียนอว่า ซึ่งเป็นนักข่าวโทรมายังสถานีวิทยุ Echo of Moscow ว่าทั้งตัวประกันและชาวเชเชนในโรงละครทุกคนไม่อยากตายและขวัญเสียเป็นอย่างมาก มีการยิงออกมาจากอาคาร ใส่ที่ตั้งของทหารรัซเซียข้างนอก แต่ไม่ได้มีการระเบิด หรือยิงตัวประกันแต่อย่างใด ประมาณ 30 นาทีหลังจากการปั๊มแก็สที่คาดกันว่าเป็น 3-methyl fentanyl หรือ Kolokol-1 (ซึ่งทางการรัสเซียไม่ได้ออกมาแถลงอย่างแน่ชัดว่าเป็นชนิดใด) และก็เกิดการยิงกันอีกราว 1 ชั่วโมง ชาวเชนที่ถูกยิงมีทั้งหญิงและชายแต่ไม่ทราบตัวเลขที่แน่นอน สุดท้ายมีชาวเชเชนเสียชีวิต 33 คน ตัวประกันเสียชีวิต 129 คน (มีเพียงคนเดียวที่เสียชีวิตจากการถูกยิง ที่เหลือเสียชีวิตจากแก็สและการช่วยเหลือที่ล่าช้า)

เชิงอรรถ

  1. 1.0 1.1 Modest Silin, Hostage, Nord-Ost siege, 2002, Russia Today, 27 October 2007
  2. Gas "killed Moscow hostages", ibid.
  3. "Moscow court begins siege claims", BBC News, 24 December 2002
  4. "Moscow siege gas 'not illegal'". BBC News. 29 October 2002.
  5. "Mystery of Russian gas deepens"
  6. Chechens Seize Moscow Theater, Taking as Many as 600 Hostages, The New York Times, 24 October 2002
  7. A Foreigner's Nightmare in Dubrovka, The Moscow Times, 22 October 2007
  8. The October 2002 Moscow Hostage-Taking Incident (Part 1) by John B. Dunlop, Radio Free Europe Reports, 18 December 2003.
  9. Slaughter in Beslan, Hudson Institute, 23 November 2004
  10. (รัสเซีย) Норд-Ост: 5 лет, Echo of Moscow, 21 October 2007
  11. Moscow siege leaves dark memories, BBC News, 16 December 2002

อ้างอิง

  • The 2002 Dubrovka and 2004 Beslan Hostage Crises: A Critique of Russian Counter-Terrorism by John B. Dunlop (ISBN 3-89821-608-X)

พิกัดภูมิศาสตร์: 55°43′33″N 37°40′24″E / 55.72583°N 37.67333°E / 55.72583; 37.67333