ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีแคโทด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
รังสีแคโธด ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น รังสีคาโทด
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Crookes-maltese-tube.jpg|thumb|250px|Cathode rays casting a shadow on the wall of a [[Crookes tube]] ]]
[[Image:Crookes-maltese-tube.jpg|thumb|250px|Cathode rays casting a shadow on the wall of a [[Crookes tube]] ]]


'''รังสีแคโธด''' ({{lang-en|Cathode rays}}) คือกระแสของ[[อิเล็กตรอน]]ที่สังเกตได้ใน[[ท่อสุญญากาศ]] ถ้าเราติดตั้งอิเล็กโทรดสองชุดเข้ากับท่อแก้วที่เป็นสุญญากาศแล้วจ่ายโวลต์เข้าไป จะสังเกตได้ว่าแก้วทางฝั่งตรงข้ามของ[[อิเล็กโทรด]]ขั้วลบจะเรืองแสง ซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยอิเล็กตรอนและเดินทางตั้งฉากกับ[[แคโธด]] (คือขั้วอิเล็กโทรดที่เชื่อมต่อกับขั้วลบของแรงดันจ่าย) ปรากฏการณ์นี้สังเกตพบครั้งแรกโดย [[โจฮันน์ ฮิตทอร์ฟ]] นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเมื่อปี ค.ศ. 1869 ต่อมาในปี ค.ศ. 1876 [[ยูจีน โกลด์สไตน์]] ตั้งชื่อให้ว่า ''kathodenstrahlen'' หรือรังสีแคโธด<ref>Joseph F. Keithley '' The story of electrical and magnetic measurements: from 500 B.C. to the 1940s'' John Wiley and Sons, 1999 ISBN 0780311930, page 205 </ref>
'''รังสีคาโทด''' ({{lang-en|Cathode rays}}) คือกระแสของ[[อิเล็กตรอน]]ที่สังเกตได้ใน[[ท่อสุญญากาศ]] ถ้าเราติดตั้งอิเล็กโทรดสองชุดเข้ากับท่อแก้วที่เป็นสุญญากาศแล้วจ่ายโวลต์เข้าไป จะสังเกตได้ว่าแก้วทางฝั่งตรงข้ามของ[[อิเล็กโทรด]]ขั้วลบจะเรืองแสง ซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยอิเล็กตรอนและเดินทางตั้งฉากกับ[[คาโทด]] (คือขั้วอิเล็กโทรดที่เชื่อมต่อกับขั้วลบของแรงดันจ่าย) ปรากฏการณ์นี้สังเกตพบครั้งแรกโดย [[โจฮันน์ ฮิตทอร์ฟ]] นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเมื่อปี ค.ศ. 1869 ต่อมาในปี ค.ศ. 1876 [[ยูจีน โกลด์สไตน์]] ตั้งชื่อให้ว่า ''kathodenstrahlen'' หรือรังสีคาโทด<ref>Joseph F. Keithley '' The story of electrical and magnetic measurements: from 500 B.C. to the 1940s'' John Wiley and Sons, 1999 ISBN 0780311930, page 205 </ref>


ปี ค.ศ. 1897 [[เจ. เจ. ทอมสัน]] นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ พิสูจน์ว่ารังสีนี้ประกอบด้วยอนุภาคประจุลบซึ่งไม่เคยรู้จักมาก่อน ต่อมาจึงมีการตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า "อิเล็กตรอน" [[หลอดรังสีคาโทด]] (Cathode ray tube หรือ CRT) เป็นท่อใช้ควบคุมการหักเหของลำอิเล็กตรอนโดยอาศัยสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า เพื่อใช้สร้างภาพบนจอโทรทัศน์ยุคเก่า ที่เรียกกันว่า จอ CRT
ปี ค.ศ. 1897 [[เจ. เจ. ทอมสัน]] นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ พิสูจน์ว่ารังสีนี้ประกอบด้วยอนุภาคประจุลบซึ่งไม่เคยรู้จักมาก่อน ต่อมาจึงมีการตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า "อิเล็กตรอน" [[หลอดรังสีคาโทด]] (Cathode ray tube หรือ CRT) เป็นท่อใช้ควบคุมการหักเหของลำอิเล็กตรอนโดยอาศัยสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า เพื่อใช้สร้างภาพบนจอโทรทัศน์ยุคเก่า ที่เรียกกันว่า จอ CRT

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:23, 28 กันยายน 2554

ไฟล์:Crookes-maltese-tube.jpg
Cathode rays casting a shadow on the wall of a Crookes tube

รังสีคาโทด (อังกฤษ: Cathode rays) คือกระแสของอิเล็กตรอนที่สังเกตได้ในท่อสุญญากาศ ถ้าเราติดตั้งอิเล็กโทรดสองชุดเข้ากับท่อแก้วที่เป็นสุญญากาศแล้วจ่ายโวลต์เข้าไป จะสังเกตได้ว่าแก้วทางฝั่งตรงข้ามของอิเล็กโทรดขั้วลบจะเรืองแสง ซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยอิเล็กตรอนและเดินทางตั้งฉากกับคาโทด (คือขั้วอิเล็กโทรดที่เชื่อมต่อกับขั้วลบของแรงดันจ่าย) ปรากฏการณ์นี้สังเกตพบครั้งแรกโดย โจฮันน์ ฮิตทอร์ฟ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเมื่อปี ค.ศ. 1869 ต่อมาในปี ค.ศ. 1876 ยูจีน โกลด์สไตน์ ตั้งชื่อให้ว่า kathodenstrahlen หรือรังสีคาโทด[1]

ปี ค.ศ. 1897 เจ. เจ. ทอมสัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ พิสูจน์ว่ารังสีนี้ประกอบด้วยอนุภาคประจุลบซึ่งไม่เคยรู้จักมาก่อน ต่อมาจึงมีการตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า "อิเล็กตรอน" หลอดรังสีคาโทด (Cathode ray tube หรือ CRT) เป็นท่อใช้ควบคุมการหักเหของลำอิเล็กตรอนโดยอาศัยสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า เพื่อใช้สร้างภาพบนจอโทรทัศน์ยุคเก่า ที่เรียกกันว่า จอ CRT

อ้างอิง

  1. Joseph F. Keithley The story of electrical and magnetic measurements: from 500 B.C. to the 1940s John Wiley and Sons, 1999 ISBN 0780311930, page 205

แหล่งข้อมูลอื่น