ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vanach (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม''' (อังกฤษ:Polygon Triangulation) คือก...
 
Vanach (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม''' ([[อังกฤษ]]:Polygon Triangulation)
'''โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม''' ([[อังกฤษ]]:Polygon Triangulation)
คือการแบ่ง[[รูปหลายเหลี่ยม]]เป็นเซ็ทของ[[สามเหลี่ยม]]ที่มากกว่า 1 รูป ซึ่งไม่ทับกันเลย สำหรับอัลกอริทึมที่ใช้ในการแบ่งนั้นสำหรับรูปหลายเหลี่ยมที่มีและไม่มีรูภายในจะแตกต่างกัน
คือการแบ่ง[[รูปหลายเหลี่ยม]]เป็นเซ็ทของ[[สามเหลี่ยม]]ที่มากกว่า 1 รูป ซึ่งไม่ทับกันเลย สำหรับอัลกอริทึมที่ใช้ในการแบ่งนั้นสำหรับรูปหลายเหลี่ยมที่มีและไม่มีรูภายในจะแตกต่างกัน
==โครงร่างสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยมแบบไม่มีจุดยอดเพิ่มเติม==
==='''วิธีการตัดหู''' ([[อังกฤษ]]: Ear Clipping Method)===
[[Image:Polygon-ear.png|thumb|หูของรูปหลายเหลี่ยม]]
วิธีที่ได้รับความนิยมและง่ายในการเขียนวิธีหนึ่งคือการตัดสามเหลี่ยมที่เป็น “หู” สามเหลี่ยมที่เป็นหูคือสามเหลี่ยมที่มีด้าน 2 ด้านอยู่ที่ขอบของรูปหลายเหลี่ยมและด้านที่เหลืออยู่ในด้านในทั้งหมด ซึ่งวิธีนี้จะใช้ได้กับรูปหลายเหลี่ยมที่ไม่มีรูภายในเท่านั้น โดยรูปหลายเหลี่ยมเหล่านั้นที่มีมุมมากกว่า 4 มุมขึ้นไป จะมี 2 หูเป็นอย่างน้อย หลังจากตัดทิ้งไปแล้วก็จะได้รูปหลายเหลี่ยมใหม่ที่มีจุดยอดมากกว่าเท่ากับ 3 ให้ทำต่อไปเรื่อยๆจนหมดก็จะได้เซ็ทของสามเหลี่ยมทั้งหมด ซึ่งเวลาที่ใช้จะเป็น O(n<sup>2</sup>) วิธีในการหาหูนั้นถูกค้นพบโดย [[Hossam ElGindy]], [[Hazel Everett]] และ [[Godfried Toussaint]] โดยในการหาหูจะใช้เวลาเป็น O(n)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:33, 17 กันยายน 2554

โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ:Polygon Triangulation) คือการแบ่งรูปหลายเหลี่ยมเป็นเซ็ทของสามเหลี่ยมที่มากกว่า 1 รูป ซึ่งไม่ทับกันเลย สำหรับอัลกอริทึมที่ใช้ในการแบ่งนั้นสำหรับรูปหลายเหลี่ยมที่มีและไม่มีรูภายในจะแตกต่างกัน

โครงร่างสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยมแบบไม่มีจุดยอดเพิ่มเติม

วิธีการตัดหู (อังกฤษ: Ear Clipping Method)

หูของรูปหลายเหลี่ยม

วิธีที่ได้รับความนิยมและง่ายในการเขียนวิธีหนึ่งคือการตัดสามเหลี่ยมที่เป็น “หู” สามเหลี่ยมที่เป็นหูคือสามเหลี่ยมที่มีด้าน 2 ด้านอยู่ที่ขอบของรูปหลายเหลี่ยมและด้านที่เหลืออยู่ในด้านในทั้งหมด ซึ่งวิธีนี้จะใช้ได้กับรูปหลายเหลี่ยมที่ไม่มีรูภายในเท่านั้น โดยรูปหลายเหลี่ยมเหล่านั้นที่มีมุมมากกว่า 4 มุมขึ้นไป จะมี 2 หูเป็นอย่างน้อย หลังจากตัดทิ้งไปแล้วก็จะได้รูปหลายเหลี่ยมใหม่ที่มีจุดยอดมากกว่าเท่ากับ 3 ให้ทำต่อไปเรื่อยๆจนหมดก็จะได้เซ็ทของสามเหลี่ยมทั้งหมด ซึ่งเวลาที่ใช้จะเป็น O(n2) วิธีในการหาหูนั้นถูกค้นพบโดย Hossam ElGindy, Hazel Everett และ Godfried Toussaint โดยในการหาหูจะใช้เวลาเป็น O(n)