ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาโนรีครีบสั้น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| synonyms =
| synonyms =
}}
}}
{{commons|Heniochus singularis}}
{{commons|Category:Heniochus singularius}}
'''ปลาโนรีครีบสั้น''' หรือ '''ปลาโนรีหลังเหลือง''' ({{lang-en|Singular bannerfish, Philippine kabubu}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heniochus singularis'' ใน[[วงศ์ปลาผีเสื้อ]] (Chaetodontidae)
'''ปลาโนรีครีบสั้น''' หรือ '''ปลาโนรีหลังเหลือง''' ({{lang-en|Singular bannerfish, Philippine kabubu}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heniochus singularis'' ใน[[วงศ์ปลาผีเสื้อ]] (Chaetodontidae)



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:05, 14 กันยายน 2554

ปลาโนรีครีบสั้น
ปลาโนรีครีบสั้นในประเทศไทย เมื่อปี ค.ศ. 2000
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Chaetodontidae
สกุล: Heniochus
สปีชีส์: H.  singularius
ชื่อทวินาม
Heniochus singularius
Smith & Radcliffe, 1911

ปลาโนรีครีบสั้น หรือ ปลาโนรีหลังเหลือง (อังกฤษ: Singular bannerfish, Philippine kabubu) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus singularis ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae)

มีรูปร่างคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออกเหลืองเข้มกว่า [1]

มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบในความลึกประมาณ 2-40 เมตร ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ หมู่เกาะอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น และนิวแคลิโดเนีย เป็นต้น

เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น