ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีวิทยุกระจายเสียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ช้างดำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Tyholt taarnet.jpg|thumb|right|300px]]
'''สถานีวิทยุกระจายเสียง''' เป็นสถานที่ของหน่วยงานมีทำหน้าที่สื่อสารการออกอากาศโดยคลื่นวิทยุ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละแห่ง
'''สถานีวิทยุกระจายเสียง''' เป็นสถานที่ของหน่วยงานมีทำหน้าที่สื่อสารการออกอากาศโดยคลื่นวิทยุ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละแห่ง


บรรทัด 6: บรรทัด 7:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
[[รายชื่อสถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย]]
* [[รายชื่อสถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
<references />
<references />
บรรทัด 12: บรรทัด 13:
[[หมวดหมู่:การสื่อสาร]]
[[หมวดหมู่:การสื่อสาร]]



[[ar:إذاعة]]
[[be-x-old:Радыёстанцыя]]
[[da:Radiostation]]
[[de:Rundfunkveranstalter]]
[[el:Ραδιομετάδοση]]
[[en:Radio broadcasting]]
[[en:Radio broadcasting]]
[[es:Radio (medio de comunicación)]]
[[fa:ایستگاه رادیویی]]
[[fr:Station de radio]]
[[ko:라디오 방송국]]
[[id:Stasiun radio]]
[[he:תחנת רדיו]]
[[ms:Penyiaran radio]]
[[nl:Radiostation]]
[[ja:ラジオ放送局]]
[[no:Radiostasjon]]
[[pt:Radiodifusão]]
[[uk:Радіостанція]]
[[zh:電台]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:25, 7 กันยายน 2554

สถานีวิทยุกระจายเสียง เป็นสถานที่ของหน่วยงานมีทำหน้าที่สื่อสารการออกอากาศโดยคลื่นวิทยุ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละแห่ง

สถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

กิจการวิทยุจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย กรมไปรษณีย์โทรเลข และมีพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน เสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ทรงจัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงทดลองขนาดเล็กขึ้นในวังเพื่อการค้นคว้าส่วนพระองค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 2471 ทรงสั่งเครื่องวิทยุกระจายเสียง จากต่างประเทศเข้ามา 1 เครื่อง ขนาด 200 วัตต์ ขนาดคลื่น 36.42 เมตร ซึ่งเป็นคลื่นสั้น ทำการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง ที่ตึกที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ปากคลองโอ่งอ่าง ถือว่าเป็นการส่งวิทยุกระจายเสียงครั้งแรกในประเทศไทย[1]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. http://variety.mcot.net/inside.php?docid=1970&doctype=11