ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอร์จ บาร์กลีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำด้วยบอต
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
[[ja:ジョージ・バークリー]]
[[ja:ジョージ・バークリー]]
[[ko:조지 버클리]]
[[ko:조지 버클리]]
[[ku:George Berkeley]]
[[lv:Džordžs Bērklijs]]
[[lv:Džordžs Bērklijs]]
[[nl:George Berkeley]]
[[nl:George Berkeley]]
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
[[sh:George Berkeley]]
[[sh:George Berkeley]]
[[sk:George Berkeley]]
[[sk:George Berkeley]]
[[sr:Џорџ Беркли]]
[[sv:George Berkeley]]
[[sv:George Berkeley]]
[[tr:George Berkeley]]
[[tr:George Berkeley]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:07, 30 ธันวาคม 2549

ไฟล์:BishBerk.jpg
บิชอปจอร์จ บาร์กลีย์

จอร์จ บาร์กลีย์ (George Berkeley) (12 มี.ค., ค.ศ. 1685 (พ.ศ. 2228) – 14 ม.ค., ค.ศ. 1753 (พ.ศ. 2296)) หรือที่รู้จักในชื่อ บิชอปบาร์กลีย์ เป็นนักปรัชญาชาวไอร์แลนด์ที่มีอิทธิพลสูงคนหนึ่ง โดยผลงานด้านปรัชญาของเขาที่สำคัญได้แก่แนวคิดจิตนิยมอัตวิสัย ซึ่งสามารถสรุปได้ด้วยประโยคของบาร์กลีย์ที่ว่า "Esse est percipi" ("การเป็นอยู่คือการถูกรับรู้") โดยพื้นฐานแล้ว ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าสสารนั้นไม่มีจริง ทุกอย่างนั้นล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในจิตเท่านั้น. เขาเขียนผลงานออกมาหลายชิ้น ชิ้นที่มีผู้อ่านอย่างกว้างขวางคือ บทความว่าด้วยหลักการพื้นฐานของความรู้ของมนุษย์ และ บทสนทนาสามบทระหว่างเฮลาส และฟิโลนูอัส (ฟิโลนูอัส ผู้รักในจิต เป็นตัวแทนของบาร์กลีย์). ในปี ค.ศ. 1734 เขาได้ตีพิมพ์ บทวิเคราะห์ ซึ่งเป็นบทวิพากษ์รากฐานของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของคณิตศาสตร์ในเวลาต่อมา