ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทนายความที่ปรึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: lv:Advokāts
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: kk:Адвокат
บรรทัด 65: บรรทัด 65:
[[ja:弁護士]]
[[ja:弁護士]]
[[ka:ადვოკატი]]
[[ka:ადვოკატი]]
[[kk:Адвокат]]
[[ko:변호사]]
[[ko:변호사]]
[[la:Causidicus]]
[[la:Causidicus]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:51, 18 สิงหาคม 2554

ทนายความ เป็นวิชาชีพทางกฎหมายแขนงหนึ่ง ในแต่ละประเทศอาจมีศัพท์เรียกทนายแตกต่างกัน เช่น barrister-at-law หรือ attorneyหรือ solicitor ซึ่ง barrister-at-law จะหมายถึงทนายความที่ว่าความในศาล ส่วน solicitor จะเป็นที่ปรึกษากฎหมายที่ไม่ได้ว่าความ ในอเมริกาจะเรียกทนายความว่า attorney หรือ lawyer ซึ่งว่าความได้ และเป็นทนายความเพียงประเภทเดียว บางครั้งมีผู้แปลคำว่า lawyer ว่านักกฎหมาย แต่ในประเทศไทย ทนายความสามารถรับปรึกษาปัญหากฎหมายและว่าความได้ โดยผู้จะเป็นทนายความ ต้องสอบใบอนุญาตว่าความจากสภาทนายความก่อน ขณะที่บางประเทศ ทนายความต้องจบเนติบัณฑิตย์ก่อน

ประวัติ

คุณสมบัติของทนายความ

คุณสมบัติของทนายความในแต่ละประเภทแตกต่างกันไปตามกฎหมายของแต่ละประเทศ ทนายความในบางประเทศเช่น ประเทศอังกฤษ ต้องสำเร็จเนติบัณฑิต สำหรับคุณสมบัติของทนายความในประเทศไทยนั้น จะต้อง

  1. มีสัญชาติไทย
  2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรืออนุปริญญาทางนิติศาสตร์จากสถาบันที่สภาทนายความอนุมัติ
  3. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดีและไม่เป็นผู้ได้กระทำการใด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจในความซื่อสัตย์
  4. ไม่อยู่ในระหว่างต้องโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก หรือเป็นบุคคลล้มละลาย
  5. ไม่เป็นโรคติดต่อซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม

วิชาชีพทนายความ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

ทนายความ