ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเหม็น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Q123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| พระอิสริยยศ = [[เจ้าฟ้า]]
| พระอิสริยยศ = [[เจ้าฟ้า]]
| พระบิดา = [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
| พระบิดา = [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
| พระมารดา = [[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงฉิมใหญ่|เจ้าจอมมารดาสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงฉิมใหญ่]]
| พระมารดา = [[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงฉิมใหญ่|เจ้าจอมมารดาสมเด็จเจ้าฟ้าฉิมใหญ่]]
| พระอัครมเหสี =
| พระอัครมเหสี =
| พระมเหสี =
| พระมเหสี =
บรรทัด 26: บรรทัด 26:




'''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต''' หรือ'''เจ้าฟ้าเหม็น''' เป็นพระราชโอรสของ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ประสูติแต่[[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงฉิมใหญ่]] พระราชธิดาองค์ใหญ่ของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]<ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stauthorid=13&stcolcatid=2&stcolumnid=1482&stissueid=2488 "พระองค์เสือ"และ "พระองค์ช้าง"] sakulthai.com</ref> ประสูติเมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2322 ได้รับพระนามเมื่อประสูติว่า เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ แต่คนทั่วไปเรียกว่า เจ้าฟ้าเหม็น
'''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต''' หรือ'''เจ้าฟ้าเหม็น''' เป็นพระราชโอรสของ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ประสูติแต่[[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงฉิมใหญ่|เจ้าจอมมารดาสมเด็จเจ้าฟ้าฉิมใหญ่]] พระราชธิดาองค์ใหญ่ของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]<ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stauthorid=13&stcolcatid=2&stcolumnid=1482&stissueid=2488 "พระองค์เสือ"และ "พระองค์ช้าง"] sakulthai.com</ref> ประสูติเมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2322 ได้รับพระนามเมื่อประสูติว่า เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ แต่คนทั่วไปเรียกว่า เจ้าฟ้าเหม็น


หลังประสูติได้เพียง 12 วันก็กำพร้ามารดา ต่อมาอีก 3 ปีก็กำพร้าบิดาเมื่อพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงถูก "เจ้าคุณตา" สำเร็จโทษ รวมถึงพระญาติอีกหลายพระองค์จนเกือบสิ้นวงศ์ เหลือแต่เจ้าฟ้าเหม็น ที่ทรงเป็นหลานคนโตของเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ) ทรงพระราชทานนามใหม่เป็น เจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์ คนทั่วไปเรียกว่าเจ้าฟ้าอภัยทศ แต่เนื่องจากพระนามพ้องกับ[[เจ้าฟ้าอภัยทศ]] แผ่นดิน[[สมเด็จพระนารายณ์]] พ้องกับเจ้าฟ้าอภัย ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ซึ่งได้รับพระราชอาญา[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]] ในช่วงผลัดแผ่นดิน ทรงสดับรับสั่งว่า ไม่เป็นมงคล โปรดให้เปลี่ยนเป็นเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ ต่อมาปี พ.ศ. 2349 เป็นกรมขุนกษัตรานุชิต ครั้งทรงเจริญพระชันษา จึงโปรดเกล้าพระราชทานวัง[[ถนนหน้าพระลาน]] ด้านตะวันตก ซึ่งเรียกว่า "[[วังท่าพระ]]"
หลังประสูติได้เพียง 12 วันก็กำพร้ามารดา ต่อมาอีก 3 ปีก็กำพร้าบิดาเมื่อพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงถูก "เจ้าคุณตา" สำเร็จโทษ รวมถึงพระญาติอีกหลายพระองค์จนเกือบสิ้นวงศ์ เหลือแต่เจ้าฟ้าเหม็น ที่ทรงเป็นหลานคนโตของเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ) ทรงพระราชทานนามใหม่เป็น เจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์ คนทั่วไปเรียกว่าเจ้าฟ้าอภัยทศ แต่เนื่องจากพระนามพ้องกับ[[เจ้าฟ้าอภัยทศ]] แผ่นดิน[[สมเด็จพระนารายณ์]] พ้องกับเจ้าฟ้าอภัย ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ซึ่งได้รับพระราชอาญา[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]] ในช่วงผลัดแผ่นดิน ทรงสดับรับสั่งว่า ไม่เป็นมงคล โปรดให้เปลี่ยนเป็นเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ ต่อมาปี พ.ศ. 2349 เป็นกรมขุนกษัตรานุชิต ครั้งทรงเจริญพระชันษา จึงโปรดเกล้าพระราชทานวัง[[ถนนหน้าพระลาน]] ด้านตะวันตก ซึ่งเรียกว่า "[[วังท่าพระ]]"


ทรงมีพระโอรส พระธิดา ดังรายพระนาม ดังนี้<ref>'''ลำดับสกุล ภาคที่ 4 สกุลเชื้อสายพระราชวงศ์กรุงธนบุรี'''. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ท่านผู้หญิง ม.ร.ว.อรุณ วรพงษ์พิพัฒน์ )</ref>
ทรงมีพระโอรส พระธิดา ดังรายพระนาม ดังนี้<ref>'''ลำดับสกุล ภาคที่ 4 สกุลเชื้อสายพระราชวงศ์กรุงธนบุรี'''. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ท่านผู้หญิง ม.ร.ว.อรุณ วรพงษ์พิพัฒน์ )</ref>
*หม่อมเจ้าชายใหญ่
*หม่อมเจ้าชายใหญ่ ''ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา''
*หม่อมเจ้าหญิงตลับ
*หม่อมเจ้าหญิงตลับ
*หม่อมเจ้าหญิงป้อม
*หม่อมเจ้าหญิงป้อม
*หม่อมเจ้าชายสุวรรณ
*หม่อมเจ้าชายสุวรรณ ''ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา''
*หม่อมเจ้าหญิงยี่สุ่น
*หม่อมเจ้าหญิงยี่สุ่น
*หม่อมเจ้าชายหนูเผือก
*หม่อมเจ้าชายหนูเผือก ''ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา''
*หม่อมเจ้าชายสวัสดิ์
*หม่อมเจ้าชายสวัสดิ์
*หม่อมเจ้าหญิงสาลี
*หม่อมเจ้าหญิงสาลี
*หม่อมเจ้าหญิงสารภี
*หม่อมเจ้าหญิงสารภี
*หม่อมเจ้าชายเล็ก
*หม่อมเจ้าชายเล็ก ''ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา''
*หม่อมเจ้าหญิงมุ้ย
*หม่อมเจ้าหญิงมุ้ย
*หม่อมเจ้าแดง
*หม่อมเจ้าแดง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:58, 9 สิงหาคม 2554

หม่อมเหม็น

สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต
สมเด็จเจ้าฟ้าน้อย
เจ้าฟ้า
ประสูติ17 กันยายน พ.ศ. 2322
สิ้นพระชนม์พ.ศ. 2352
พระราชบุตร๑๒ พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์ธนบุรี(ทางฝ่ายพระราชบิดา)
ราชวงศ์จักรี(ทางฝ่ายพระราชมารดา)
พระบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
พระมารดาเจ้าจอมมารดาสมเด็จเจ้าฟ้าฉิมใหญ่



สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ กรมขุนกษัตรานุชิต หรือเจ้าฟ้าเหม็น เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสมเด็จเจ้าฟ้าฉิมใหญ่ พระราชธิดาองค์ใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก[1] ประสูติเมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2322 ได้รับพระนามเมื่อประสูติว่า เจ้าฟ้าสุพันธวงศ์ แต่คนทั่วไปเรียกว่า เจ้าฟ้าเหม็น

หลังประสูติได้เพียง 12 วันก็กำพร้ามารดา ต่อมาอีก 3 ปีก็กำพร้าบิดาเมื่อพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงถูก "เจ้าคุณตา" สำเร็จโทษ รวมถึงพระญาติอีกหลายพระองค์จนเกือบสิ้นวงศ์ เหลือแต่เจ้าฟ้าเหม็น ที่ทรงเป็นหลานคนโตของเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ) ทรงพระราชทานนามใหม่เป็น เจ้าฟ้าอภัยธิเบศร์ คนทั่วไปเรียกว่าเจ้าฟ้าอภัยทศ แต่เนื่องจากพระนามพ้องกับเจ้าฟ้าอภัยทศ แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ พ้องกับเจ้าฟ้าอภัย ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ซึ่งได้รับพระราชอาญาสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ในช่วงผลัดแผ่นดิน ทรงสดับรับสั่งว่า ไม่เป็นมงคล โปรดให้เปลี่ยนเป็นเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ ต่อมาปี พ.ศ. 2349 เป็นกรมขุนกษัตรานุชิต ครั้งทรงเจริญพระชันษา จึงโปรดเกล้าพระราชทานวังถนนหน้าพระลาน ด้านตะวันตก ซึ่งเรียกว่า "วังท่าพระ"

ทรงมีพระโอรส พระธิดา ดังรายพระนาม ดังนี้[2]

  • หม่อมเจ้าชายใหญ่ ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา
  • หม่อมเจ้าหญิงตลับ
  • หม่อมเจ้าหญิงป้อม
  • หม่อมเจ้าชายสุวรรณ ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา
  • หม่อมเจ้าหญิงยี่สุ่น
  • หม่อมเจ้าชายหนูเผือก ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา
  • หม่อมเจ้าชายสวัสดิ์
  • หม่อมเจ้าหญิงสาลี
  • หม่อมเจ้าหญิงสารภี
  • หม่อมเจ้าชายเล็ก ถูกสำเร็จโทษพร้อมพระบิดา
  • หม่อมเจ้าหญิงมุ้ย
  • หม่อมเจ้าแดง
  • หม่อมเจ้าหญิง ( ไม่ทราบพระนาม )

ในปี พ.ศ. 2352 หลังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ เสด็จสวรรคตได้เพียง 3 วัน เกิดการกล่าวโทษว่าพระองค์คบคิดกับขุนนางจำนวนหนึ่งว่าคิดแย่งชิงราชสมบัติ จนเกิดคดีเป็นกบฏ หลังจากไต่สวนได้ความเป็นจริง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงโปรดให้ชำระโทษถอดพระยศ ลงพระราชอาญา ให้สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ที่วัดปทุมคงคา พร้อมพระอนุชาต่างมารดา คือพระองค์เจ้าชายอรนิกา และพระขนิษฐา พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ ซึ่งถูกข้อหาสมรู้ร่วมคิด[3] ผู้ร่วมสมรู้ร่วมคิดอื่นได้ถูกประหารชีวิตที่สำเหร่ รวมทั้งพระโอรสทั้งหมดในเจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุชิต จึงไม่มีผู้สืบสายสกุลกรมขุนกษัตรานุชิตมาจนปัจจุบัน[4]

อ้างอิง

  1. จุลลดา ภักดีภูมินทร์, "พระองค์เสือ"และ "พระองค์ช้าง" sakulthai.com
  2. ลำดับสกุล ภาคที่ 4 สกุลเชื้อสายพระราชวงศ์กรุงธนบุรี. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ท่านผู้หญิง ม.ร.ว.อรุณ วรพงษ์พิพัฒน์ )
  3. เกร็ดพระราชประวัติ phrachaokrungthon.com
  4. เจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุชิต