ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกลช์ชัลทุง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: no:Gleichschaltung
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ไกลช์ชอัลทุง''' ({{lang-de|Gleichschaltung}}) หมายถึง "การประสานงาน" "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัด[[ลัทธิเฉพาะบุคคล]] โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[เกสตาโป|กองกำลังตำรวจ]]อย่างเข้มงวด
'''ไกลช์ชัลทุง''' ({{lang-de|Gleichschaltung}}) หมายถึง "การประสานงาน" หรือ "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัด[[ลัทธิเฉพาะบุคคล]] โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[เกสตาโป|กองกำลังตำรวจ]]อย่างเข้มงวด


== ทัศนะทั่วไป ==
== ทัศนะทั่วไป ==

ช่วงเวลาระหว่างปี [[ค.ศ. 1933]] จนถึง [[ค.ศ. 1937]] เป็นช่วงเวลาของการกำจัดกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองในระบอบนาซี ซึ่งอาจมีอิทธิพลเหนือประชากร อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองอื่น การควบคุมอุตสาหกรรมและศาสนจักร ส่วนองค์กรทางการปกครองที่ไม่สามารถทำลายลงได้ ถูกควบคุมอย่างเด็ดขาดภายใต้นโยบายของรัฐบาล
ช่วงเวลาระหว่างปี [[ค.ศ. 1933]] จนถึง [[ค.ศ. 1937]] เป็นช่วงเวลาของการกำจัดกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองในระบอบนาซี ซึ่งอาจมีอิทธิพลเหนือประชากร อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองอื่น การควบคุมอุตสาหกรรมและศาสนจักร ส่วนองค์กรทางการปกครองที่ไม่สามารถทำลายลงได้ ถูกควบคุมอย่างเด็ดขาดภายใต้นโยบายของรัฐบาล


แนวคิด ''ไกลช์ชอัลทุง'' ดังกล่าวยังได้รวมไปถึงการก่อตั้งองค์กรต่าง ๆ ขึ้นโดยการเกณฑ์ประชากรเข้าตามช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชน โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรลูกเสือเพื่อให้เด็กชายได้ฝึกฝนจนกระทั่งเข้ารับรัฐการทหารในที่สุด ส่วนเด็กหญิงจะได้รับการฝึกจนกระทั่งเข้าทำงานในปศุสัตว์
แนวคิด ''ไกลช์ชัลทุง'' ดังกล่าวยังได้รวมไปถึงการก่อตั้งองค์กรต่าง ๆ ขึ้นโดยการเกณฑ์ประชากรเข้าตามช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชน โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรลูกเสือเพื่อให้เด็กชายได้ฝึกฝนจนกระทั่งเข้ารับรัฐการทหารในที่สุด ส่วนเด็กหญิงจะได้รับการฝึกจนกระทั่งเข้าทำงานในปศุสัตว์


== หนังสืออ่านเพิ่มเติม ==
== หนังสืออ่านเพิ่มเติม ==

{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Karl Kroeschell, ''Deutsche Rechtsgeschichte 3 (seit 1650)'', 2nd ed. 1989, ISBN 3-531-22139-6
* Karl Kroeschell, ''Deutsche Rechtsgeschichte 3 (seit 1650)'', 2nd ed. 1989, ISBN 3-531-22139-6
บรรทัด 19: บรรทัด 17:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรช์สทัก]]

* [[กฤษฎีกาว่าด้วยเพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทัก]]
* [[รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]]
* [[รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]]
* [[นาซีเยอรมนี]]



[[หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:57, 7 สิงหาคม 2554

ไกลช์ชัลทุง (เยอรมัน: Gleichschaltung) หมายถึง "การประสานงาน" หรือ "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัดลัทธิเฉพาะบุคคล โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของกองกำลังตำรวจอย่างเข้มงวด

ทัศนะทั่วไป

ช่วงเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1933 จนถึง ค.ศ. 1937 เป็นช่วงเวลาของการกำจัดกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองในระบอบนาซี ซึ่งอาจมีอิทธิพลเหนือประชากร อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองอื่น การควบคุมอุตสาหกรรมและศาสนจักร ส่วนองค์กรทางการปกครองที่ไม่สามารถทำลายลงได้ ถูกควบคุมอย่างเด็ดขาดภายใต้นโยบายของรัฐบาล

แนวคิด ไกลช์ชัลทุง ดังกล่าวยังได้รวมไปถึงการก่อตั้งองค์กรต่าง ๆ ขึ้นโดยการเกณฑ์ประชากรเข้าตามช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชน โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรลูกเสือเพื่อให้เด็กชายได้ฝึกฝนจนกระทั่งเข้ารับรัฐการทหารในที่สุด ส่วนเด็กหญิงจะได้รับการฝึกจนกระทั่งเข้าทำงานในปศุสัตว์

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Karl Kroeschell, Deutsche Rechtsgeschichte 3 (seit 1650), 2nd ed. 1989, ISBN 3-531-22139-6
  • Karl Kroeschell, Rechtsgeschichte Deutschlands im 20. Jahrhundert, 1992, ISBN 3-8252-1681-0
  • Lebendiges virtuelles Museum Online: Die Errichtung des Einparteienstaats 1933
  • Claudia Koonz The Nazi Conscience. Cambridge, Mass.: The Belknap Press of Harvard University Press, 2003.
  • Karl Dietrich Bracher "Stages of Totalitarian "Integration" (Gleichschaltung): The Consolidation of National Socialist Rule in 1933 and 1934" pages 109-128 from Republic To Reich The Making of the Nazi Revolution Ten Essays edited by Hajo Holborn, New York: Pantheon Books, 1972.
  • Everett HughesThe "Gleichschaltung" of the German Statistical Yearbook: A Case in Professional Political Neutrality. The American Statistician Vol. IX (Dec., 1955, pp. 8-11.

ดูเพิ่ม