ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่งพิเศษ
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #E9E9E9
| สี1 = #E9E9E9
| สี2 =
| สี2 =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1702]]<br /><small>ครองราชย์ร่วมกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2]] ([[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1694]]) </small>
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1702]]<br /><small>ครองราชย์ร่วมกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2]] ([[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1694]]) </small>
}}
}}
{{สืบตำแหน่งพิเศษ
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #E9E9E9
| สี1 = #E9E9E9
| สี2 =
| สี2 =
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1702]]<br /><small>ครองราชย์ร่วมกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2]] ([[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1694]]) </small>
| ช่วงเวลา = [[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1702]]<br /><small>ครองราชย์ร่วมกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2]] ([[ค.ศ. 1689]] – [[ค.ศ. 1694]]) </small>
}}
}}
{{สืบตำแหน่งพิเศษ
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #E9E9E9
| สี1 = #E9E9E9
| สี2 =
| สี2 =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:49, 5 สิงหาคม 2554

สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 3 แห่งอังกฤษ (อังกฤษ: William III of England; 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 21938 มีนาคม พ.ศ. 2245) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลี่ยมที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และ วิลเลี่ยมที่ 3 แห่งออเร้นจ์ ทรงเป็นผู้ดีดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนท์ ทรงเป็นโอรสของเจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์และเจ้าฟ้าหญิงแมรี สจวตทรงประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็ทรงสวรรคตด้วยพิษจากไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลี่ยมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้

ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมทรงมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระมารดาของพระองค์ก็ทรงสวรรคตด้วยไข้ ทรพิษ ในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพี่ชายของพระองค์ คือพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชารส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชารส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชารส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด

ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับ แมรี่ หลานสาวของพระองค์เอง ซึ่ง แมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยากลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220

พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้าน อำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนท์ถึงกับได้มอบเหรียญตรา และ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม

พระองค์ทรงสวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ก่อนหน้า พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ถัดไป
สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
หรือ
สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์

พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ
พระมหากษัตริย์แห่งไอร์แลนด์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1689ค.ศ. 1702
ครองราชย์ร่วมกับสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 (ค.ศ. 1689ค.ศ. 1694) )
สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์
ว่าง
พระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1689ค.ศ. 1702
ครองราชย์ร่วมกับสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 (ค.ศ. 1689ค.ศ. 1694) )
ว่าง
วิลเลียมที่ 2 แห่งออเรนจ์
เจ้าชายแห่งออเรนจ์
(ราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา)

(ค.ศ. 1650ค.ศ. 1702)
จอหน์ วิลเหม แห่งออเรนจ์

แม่แบบ:Link FA