ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อธิกวินาที"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drboon (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่คำ Leap Second
Drboon (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่คำ Leap Second
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
| colspan="2" | 24
| colspan="2" | 24
|}
|}
'''อธิกวินาที''' คือการปรับเวลาเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 [[วินาที]] เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศ[[เวลา]]ให้ใกล้เคียงกับ[[เวลาสุริยะ]] ([[UT1]]) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บน[[เวลาสากลเชิงพิกัด]] (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วย[[นาฬิกาอะตอม]]ที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของ[[เปลือกโลก]] [[แผ่นดินไหว]] ปริมาณน้ำใน[[มหาสมุทร]] ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย [[International Earth Rotation and Reference Systems Service]] (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย [[Bureau International de l'Heure]] (BIH) จนถึง [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]] (ค.ศ. 1988)
'''อธิกวินาที (Leap Seconds)''' คือการปรับเวลาเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 [[วินาที]] เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศ[[เวลา]]ให้ใกล้เคียงกับ[[เวลาสุริยะ]] ([[UT1]]) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บน[[เวลาสากลเชิงพิกัด]] (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วย[[นาฬิกาอะตอม]]ที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของ[[เปลือกโลก]] [[แผ่นดินไหว]] ปริมาณน้ำใน[[มหาสมุทร]] ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย [[International Earth Rotation and Reference Systems Service]] (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย [[Bureau International de l'Heure]] (BIH) จนถึง [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]] (ค.ศ. 1988)


การปรับอธิกวินาทีจะกระทำเมื่อ UT1 แตกต่างจาก UTC เกิน ±0.9 วินาที และจะถูกกำหนดให้เพิ่มหรือลดเมื่อสิ้นสุดวันที่ [[30 มิถุนายน]] หรือ [[31 ธันวาคม]] โดยจะประกาศเป็นคราว ๆ ไป (ถึงแม้ว่าอธิกวินาทีสามารถเพิ่มหรือลดในวันไหนก็ได้) ซึ่งจะทำให้นาทีสุดท้ายของวันดังกล่าวเกินมาหรือขาดไป 1 วินาทีตามทฤษฎี อย่างไรก็ตามการปรับอธิกวินาทีที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มีเพียงการเพิ่มเวลาเข้าไปอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้เวลา 23:59:60 ปรากฏขึ้น ก่อนที่จะเป็น 0:00:00 ในวินาทีถัดไป และจะเกิดพร้อมกันทั่วโลก (เช่นประเทศไทยจะปรากฏเป็นเวลา 6:59:60) การปรับอธิกวินาทีโดย BIH/IERS เคยเกิดขึ้นมาแล้วทั้งหมด 24 ครั้งนับตั้งแต่ [[พ.ศ. 2515]] (ค.ศ. 1972) และล่าสุดเมื่อสิ้นปี [[พ.ศ. 2551]] (ค.ศ. 2008) <ref name="Bulletin C 36">{{cite web | last = Gambis | first = Daniel | title = Bulletin C 36 | publisher = [[International Earth Rotation and Reference Systems Service|IERS EOP PC]], [[Paris Observatory|Observatoire de Paris]] | location = [[Paris]] | date = [[2008-07-04]] | url = http://hpiers.obspm.fr/iers/bul/bulc/bulletinc.36 | accessdate = 2009-01-04 }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.livescience.com/strangenews/081208-leap-second.html |title=2008 Will Be Just a Second Longer | | author=Andrea Thompson |accessdate=29 December 2008 |publisher=Live Science |date=[[08 December]] [[2008]]}}</ref>
การปรับอธิกวินาทีจะกระทำเมื่อ UT1 แตกต่างจาก UTC เกิน ±0.9 วินาที และจะถูกกำหนดให้เพิ่มหรือลดเมื่อสิ้นสุดวันที่ [[30 มิถุนายน]] หรือ [[31 ธันวาคม]] โดยจะประกาศเป็นคราว ๆ ไป (ถึงแม้ว่าอธิกวินาทีสามารถเพิ่มหรือลดในวันไหนก็ได้) ซึ่งจะทำให้นาทีสุดท้ายของวันดังกล่าวเกินมาหรือขาดไป 1 วินาทีตามทฤษฎี อย่างไรก็ตามการปรับอธิกวินาทีที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มีเพียงการเพิ่มเวลาเข้าไปอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้เวลา 23:59:60 ปรากฏขึ้น ก่อนที่จะเป็น 0:00:00 ในวินาทีถัดไป และจะเกิดพร้อมกันทั่วโลก (เช่นประเทศไทยจะปรากฏเป็นเวลา 6:59:60) การปรับอธิกวินาทีโดย BIH/IERS เคยเกิดขึ้นมาแล้วทั้งหมด 24 ครั้งนับตั้งแต่ [[พ.ศ. 2515]] (ค.ศ. 1972) และล่าสุดเมื่อสิ้นปี [[พ.ศ. 2551]] (ค.ศ. 2008) <ref name="Bulletin C 36">{{cite web | last = Gambis | first = Daniel | title = Bulletin C 36 | publisher = [[International Earth Rotation and Reference Systems Service|IERS EOP PC]], [[Paris Observatory|Observatoire de Paris]] | location = [[Paris]] | date = [[2008-07-04]] | url = http://hpiers.obspm.fr/iers/bul/bulc/bulletinc.36 | accessdate = 2009-01-04 }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.livescience.com/strangenews/081208-leap-second.html |title=2008 Will Be Just a Second Longer | | author=Andrea Thompson |accessdate=29 December 2008 |publisher=Live Science |date=[[08 December]] [[2008]]}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:41, 8 กรกฎาคม 2554

การปรับอธิกวินาที (Leap Seconds)
ค.ศ. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค.
1972 +1 +1
1973 0 +1
1974 0 +1
1975 0 +1
1976 0 +1
1977 0 +1
1978 0 +1
1979 0 +1
1980 0 0
1981 +1 0
1982 +1 0
1983 +1 0
1984 0 0
1985 +1 0
1986 0 0
1987 0 +1
1988 0 0
1989 0 +1
1990 0 +1
1991 0 0
1992 +1 0
1993 +1 0
1994 +1 0
1995 0 +1
1996 0 0
1997 +1 0
1998 0 +1
1999 0 0
2000 0 0
2001 0 0
2002 0 0
2003 0 0
2004 0 0
2005 0 +1
2006 0 0
2007 0 0
2008 0 +1
2009 0 0
2010 0 0
2011 0 ??
ค.ศ. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค.
รวม 9 15
24

อธิกวินาที (Leap Seconds) คือการปรับเวลาเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 วินาที เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศเวลาให้ใกล้เคียงกับเวลาสุริยะ (UT1) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บนเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วยนาฬิกาอะตอมที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก แผ่นดินไหว ปริมาณน้ำในมหาสมุทร ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย International Earth Rotation and Reference Systems Service (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย Bureau International de l'Heure (BIH) จนถึง 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988)

การปรับอธิกวินาทีจะกระทำเมื่อ UT1 แตกต่างจาก UTC เกิน ±0.9 วินาที และจะถูกกำหนดให้เพิ่มหรือลดเมื่อสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน หรือ 31 ธันวาคม โดยจะประกาศเป็นคราว ๆ ไป (ถึงแม้ว่าอธิกวินาทีสามารถเพิ่มหรือลดในวันไหนก็ได้) ซึ่งจะทำให้นาทีสุดท้ายของวันดังกล่าวเกินมาหรือขาดไป 1 วินาทีตามทฤษฎี อย่างไรก็ตามการปรับอธิกวินาทีที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มีเพียงการเพิ่มเวลาเข้าไปอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้เวลา 23:59:60 ปรากฏขึ้น ก่อนที่จะเป็น 0:00:00 ในวินาทีถัดไป และจะเกิดพร้อมกันทั่วโลก (เช่นประเทศไทยจะปรากฏเป็นเวลา 6:59:60) การปรับอธิกวินาทีโดย BIH/IERS เคยเกิดขึ้นมาแล้วทั้งหมด 24 ครั้งนับตั้งแต่ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) และล่าสุดเมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) [1][2]

กราฟแสดงความแตกต่างระหว่าง UT1 กับ UTC ส่วนที่ตั้งชันคืออธิกวินาที

อ้างอิง

  1. Gambis, Daniel (2008-07-04). "Bulletin C 36". Paris: IERS EOP PC, Observatoire de Paris. สืบค้นเมื่อ 2009-01-04. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Andrea Thompson (08 December 2008). "2008 Will Be Just a Second Longer". Live Science. สืบค้นเมื่อ 29 December 2008. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)