ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนกำแพงเพชร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
 
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
#REDIRECT [[กลุ่มถนนกำแพงเพชร]]
{{ช่วยดูหน่อย}}


'''ถนนกำแพงเพชร''' เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขต[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง [[กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] บิดาแห่งกิจการรถไฟ


# '''ถนนกำแพงเพชร''' เป็นถนนที่แยกออกมาจาก[[ถนนพหลโยธิน]] ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ตลาดนัดสวนจตุจักร]] ตัดไปทางตะวันตก สิ้นสุดที่[[ถนนพระรามที่ 6]] ในบริเวณของ[[ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน]]
# '''ถนนกำแพงเพชร 2''' ตัดแยกออกจากถนนกำแพงเพชร บริเวณหน้า[[องค์การตลาดเพื่อการเกษตร]] (อตก.) จนถึง[[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ(จตุจักร)]] แล้ววกอ้อมด้านหลัง ผ่าน[[สถานีรถไฟพหลโยธิน]] ไปบรรจบกับ[[ถนนรัชดาภิเษก]] ที่แยกรัชวิภา
# '''ถนนกำแพงเพชร 3''' หรือ '''ถนนหลังสวนจตุจักร''' ตัดแยกจากถนนพหลโยธิน ที่มุมด้านใต้ของ[[สวนจตุจักร]] อ้อมผ่านด้านหลัง วกขึ้นไปทางเหนือ ผ่าน[[สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์]] [[สวนวชิรเบญจทัศ ]] ไปจรดกับ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ที่บริเวณหน้า [[องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ]] สำนักงานเอเชียแปซิฟิก
# '''ถนนกำแพงเพชร 4''' (?) {{โครงส่วน}}
# '''ถนนกำแพงเพชร 5''' เป็นถนนเลียบทางรถไฟขนานกับ[[ถนนสวรรคโลก]] เริ่มต้นแยกจาก[[ถนนพระรามที่ 6]] บริเวณยมราช เลียบทางรถไฟขึ้นไปทางเหนือ ไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 6 อีกครั้ง ในบริเวณ ของ[[ที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน]]
# '''ถนนกำแพงเพชร 6''' เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ใน[[กรุงเทพมหานคร]] เส้นทางเริ่มต้นจากถนนกำแพงเพชร 2 ที่ที่บริเวณ [[ที่หยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11]] จากนั้นมีเส้นทางขนานกับทางรถไฟสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับ[[ถนนประชานิเวศน์]] ที่หน้า[[วัดเสมียนนารี]] จากนั้น สลับไปขนานกับทางรถไฟฝั่งซ้าย (ตะวันตก) วิ่งขนานกับ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ผ่าน[[สถานีรถไฟบางเขน]] [[สถานีรถไฟหลักสี่]] และ[[สถานีรถไฟดอนเมือง]] แล้วเลียบทางรถไฟผ่าน[[ที่หยุดรถไฟหลักหก]] ไปสิ้นสุดเส้นทางที่[[สถานีรถไฟรังสิต]] ([[ถนนรังสิต-ปทุมธานี]]) ถนนสายนี้ช่วยแบ่งเบาการจราจรบนถนนวิภาวดีรังสิต และ ช่วยเปิดพื้นที่ริมทางรถไฟฝั่งตะวันตกเพื่อรองรับการพัฒนา แต่ก็เป็นการเพิ่มจุดตัดกับถนนอื่นๆที่ตัดผ่านทางรถไฟ เช่น [[ถนนประชานิเวศน์]] [[ถนนงามวงศ์วาน]] [[ถนนแจ้งวัฒนะ]] [[ถนนสรงประภา]] และ [[ถนนเดชะตุคะ]]
# '''ถนนกำแพงเพชร 7''' เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายตะวันออกฝั่งเหนือขนานกับ[[ถนนเพชรบุรีตัดใหม่]] (ซึ่งขนานกับทางรถไฟฝั่งใต้)


{{โครงคมนาคม}}
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร|กำแพงเพชร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร|กำแพงเพชร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:51, 21 ธันวาคม 2549

ถนนกำแพงเพชร เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ถนนกำแพงเพชร หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ถนนกำแพงเพชร เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ


  1. ถนนกำแพงเพชร เป็นถนนที่แยกออกมาจากถนนพหลโยธิน ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ของตลาดนัดสวนจตุจักร ตัดไปทางตะวันตก สิ้นสุดที่ถนนพระรามที่ 6 ในบริเวณของที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน
  2. ถนนกำแพงเพชร 2 ตัดแยกออกจากถนนกำแพงเพชร บริเวณหน้าองค์การตลาดเพื่อการเกษตร (อตก.) จนถึงสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ(จตุจักร) แล้ววกอ้อมด้านหลัง ผ่านสถานีรถไฟพหลโยธิน ไปบรรจบกับถนนรัชดาภิเษก ที่แยกรัชวิภา
  3. ถนนกำแพงเพชร 3 หรือ ถนนหลังสวนจตุจักร ตัดแยกจากถนนพหลโยธิน ที่มุมด้านใต้ของสวนจตุจักร อ้อมผ่านด้านหลัง วกขึ้นไปทางเหนือ ผ่านสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ สวนวชิรเบญจทัศ ไปจรดกับถนนวิภาวดีรังสิต ที่บริเวณหน้า องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ สำนักงานเอเชียแปซิฟิก
  4. ถนนกำแพงเพชร 4 (?)
  5. ถนนกำแพงเพชร 5 เป็นถนนเลียบทางรถไฟขนานกับถนนสวรรคโลก เริ่มต้นแยกจากถนนพระรามที่ 6 บริเวณยมราช เลียบทางรถไฟขึ้นไปทางเหนือ ไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 6 อีกครั้ง ในบริเวณ ของที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน
  6. ถนนกำแพงเพชร 6 เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ในกรุงเทพมหานคร เส้นทางเริ่มต้นจากถนนกำแพงเพชร 2 ที่ที่บริเวณ ที่หยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11 จากนั้นมีเส้นทางขนานกับทางรถไฟสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับถนนประชานิเวศน์ ที่หน้าวัดเสมียนนารี จากนั้น สลับไปขนานกับทางรถไฟฝั่งซ้าย (ตะวันตก) วิ่งขนานกับถนนวิภาวดีรังสิต ผ่านสถานีรถไฟบางเขน สถานีรถไฟหลักสี่ และสถานีรถไฟดอนเมือง แล้วเลียบทางรถไฟผ่านที่หยุดรถไฟหลักหก ไปสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีรถไฟรังสิต (ถนนรังสิต-ปทุมธานี) ถนนสายนี้ช่วยแบ่งเบาการจราจรบนถนนวิภาวดีรังสิต และ ช่วยเปิดพื้นที่ริมทางรถไฟฝั่งตะวันตกเพื่อรองรับการพัฒนา แต่ก็เป็นการเพิ่มจุดตัดกับถนนอื่นๆที่ตัดผ่านทางรถไฟ เช่น ถนนประชานิเวศน์ ถนนงามวงศ์วาน ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนสรงประภา และ ถนนเดชะตุคะ
  7. ถนนกำแพงเพชร 7 เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายตะวันออกฝั่งเหนือขนานกับถนนเพชรบุรีตัดใหม่ (ซึ่งขนานกับทางรถไฟฝั่งใต้)