ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Judges at ICJ in Prasat Preah Vihear 1962.jpg|thumb|ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ กรุงเฮก ระหว่างการพิจารณาคดีเขาพระวิหาร]]
[[ไฟล์:Judges at ICJ in Prasat Preah Vihear 1962.jpg|thumb|ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ กรุงเฮก ระหว่างการพิจารณาคดีเขาพระวิหาร]]
'''ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|International Court of Justice}}; ICJ) หรือที่เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า '''ศาลโลก''' ({{lang-en|World Court}}) ตั้งขึ้นโดย[[กฎบัตรสหประชาชาติ]]เมื่อ [[พ.ศ. 2489]] เป็นองค์กรหลักภายใต้องค์การ[[สหประชาชาติ]]ตั้งอยู่ที่[[เฮก|กรุงเฮก]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] โดยทำหน้าที่สืบเนื่องต่อจากศาลสถิตยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Permanent Court of Justice; IPCJ) ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[10 มกราคม]] [[พ.ศ. 2463]] ซึ่งได้ยุติบทบาทไปพร้อมกับองค์การ[[สันนิบาตชาติ]]
'''ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|International Court of Justice}}; ICJ) หรือภาษาปากว่า '''ศาลโลก''' ({{lang-en|World Court}}) เป็นศาลซึ่งตั้งขึ้นโดย[[กฎบัตรสหประชาชาติ]] เมื่อ [[พ.ศ. 2489]] ให้ทำหน้าที่สืบเนื่องต่อจากศาลสถิตยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Permanent Court of Justice; IPCJ) ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[10 มกราคม]] [[พ.ศ. 2463]] และยุติบทบาทไปพร้อมกับองค์การ[[สันนิบาตชาติ]] ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอยู่ในความควบคุมของ[[สหประชาชาติ]] และมีบัลลังก์ที่[[เฮก|กรุงเฮก]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] แต่จะออกนั่งพิจารณาที่อื่นก็ได้


ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีใดๆ ที่เป็นข้อพิพาทระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป (Contentious Case) เช่นข้อพิพาทเรื่องดินแดนอาณาเขต การละเมิดอำนาจอธิปไตย ปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ หรือแม้แต่กรณีที่เกี่ยวข้องกับเอกชนที่รัฐเป็นผู้ฟ้องแทน ฯลฯ ทั้งนี้ประเทศที่เกี่ยวข้องจะต้องยินยอมรับอำนาจศาลให้เป็นผู้พิจารณาตัดสินก่อนเท่านั้น ศาลจึงจะมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีนั้นได้
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีใด ๆ ที่เป็นข้อพิพาทระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป (contentious case) เช่น ข้อพิพาทเรื่องดินแดนอาณาเขต การละเมิดอำนาจอธิปไตย ปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ หรือแม้แต่กรณีที่เกี่ยวข้องกับเอกชนที่รัฐเป็นผู้ฟ้องแทน ฯลฯ ทั้งนี้ประเทศที่เกี่ยวข้องจะต้องยินยอมรับอำนาจศาลให้เป็นผู้พิจารณาตัดสินก่อนเท่านั้น ศาลจึงจะมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีนั้นได้


นอกจากนี้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยังมีอำนาจวินิจฉัยเพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในทางกฎหมายระหว่างประเทศ (Advisory Opinion) ในสามกรณีหลัก คือ กรณีแรก ตามที่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติหรือคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติร้องขอ กรณีที่สอง ตามที่องค์กรอื่นภายใต้สหประชาชาติหรือองค์การชำนัญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติร้องขอโดยได้รับการอนุมัติจากสมัชชาใหญ่ และ กรณีที่สาม ตามที่ได้มีการให้อำนาจวินิจฉัยปัญหาไว้โดยสนธิสัญญา
นอกจากนี้ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยังมีอำนาจวินิจฉัยเพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในทางกฎหมายระหว่างประเทศ (advisory opinion) ในกรณีสามกรณีหลัก คือ กรณีแรก ตามที่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติหรือคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติร้องขอ กรณีที่สอง ตามที่องค์กรอื่นภายใต้สหประชาชาติหรือองค์การชำนัญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติร้องขอโดยได้รับการอนุมัติจากสมัชชาใหญ่ และ กรณีที่สาม ตามที่ได้มีการให้อำนาจวินิจฉัยปัญหาไว้โดยสนธิสัญญา


ผู้พิพากษาศาลโลกมี 15 คน เลือกตั้งคราวละ 9 ปี การพิจารณาพิพากษาคดีต้องมีผู้พิพากษา 9 คนนั่งเป็นองค์คณะ ศาลจะเลือกประธานและรองประธานศาลเอง และศาลจะนั่งพิจารณาที่อื่นนอกจากสำนักงานศาลที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ก็ได้
ผู้พิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมี 15 คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 9 ปี คนละวาระเดียว การพิจารณาพิพากษาคดี ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย 9 คนนั่งบัลลังก์ จึงจะเป็นองค์คณะ อนึ่ง ศาลจะเลือกประธานและรองประธานศาลเอง


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:42, 26 มิถุนายน 2554

ไฟล์:Judges at ICJ in Prasat Preah Vihear 1962.jpg
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ กรุงเฮก ระหว่างการพิจารณาคดีเขาพระวิหาร

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Court of Justice; ICJ) หรือภาษาปากว่า ศาลโลก (อังกฤษ: World Court) เป็นศาลซึ่งตั้งขึ้นโดยกฎบัตรสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2489 ให้ทำหน้าที่สืบเนื่องต่อจากศาลสถิตยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Permanent Court of Justice; IPCJ) ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2463 และยุติบทบาทไปพร้อมกับองค์การสันนิบาตชาติ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอยู่ในความควบคุมของสหประชาชาติ และมีบัลลังก์ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ แต่จะออกนั่งพิจารณาที่อื่นก็ได้

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีใด ๆ ที่เป็นข้อพิพาทระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป (contentious case) เช่น ข้อพิพาทเรื่องดินแดนอาณาเขต การละเมิดอำนาจอธิปไตย ปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ หรือแม้แต่กรณีที่เกี่ยวข้องกับเอกชนที่รัฐเป็นผู้ฟ้องแทน ฯลฯ ทั้งนี้ประเทศที่เกี่ยวข้องจะต้องยินยอมรับอำนาจศาลให้เป็นผู้พิจารณาตัดสินก่อนเท่านั้น ศาลจึงจะมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีนั้นได้

นอกจากนี้ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยังมีอำนาจวินิจฉัยเพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในทางกฎหมายระหว่างประเทศ (advisory opinion) ในกรณีสามกรณีหลัก คือ กรณีแรก ตามที่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติหรือคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติร้องขอ กรณีที่สอง ตามที่องค์กรอื่นภายใต้สหประชาชาติหรือองค์การชำนัญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติร้องขอโดยได้รับการอนุมัติจากสมัชชาใหญ่ และ กรณีที่สาม ตามที่ได้มีการให้อำนาจวินิจฉัยปัญหาไว้โดยสนธิสัญญา

ผู้พิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมี 15 คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 9 ปี คนละวาระเดียว การพิจารณาพิพากษาคดี ต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย 9 คนนั่งบัลลังก์ จึงจะเป็นองค์คณะ อนึ่ง ศาลจะเลือกประธานและรองประธานศาลเอง

แหล่งข้อมูลอื่น