ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคอิไตอิไต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pt:Doença de itai-itai; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''โรคอิไต-อิไต''' ({{ญี่ปุ่น|イタイイタイ病|itaiitaibiyou|อิทะอิอิทะอิบิโยะอุ}}; {{lang-en|Itai-itai disease}}) เป็นโรคชนิดหนึ่งเกิดจาก[[แคดเมียม]] ชื่อโรคอิไต-อิไต เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า โอย-โอย โรคอิไต-อิไตมีถิ่นกำเนิดมาจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] เช่นเดียวกับ[[โรคมินามาตะ]] และ[[โรคคาวาซากิ]]
'''โรคอิไต-อิไต''' ({{ญี่ปุ่น|イタイイタイ病|itaiitaibiyou|อิทะอิอิทะอิบิโยะอุ}}) ; {{lang-en|Itai-itai disease}}) เป็นโรคชนิดหนึ่งเกิดจาก[[แคดเมียม]] ชื่อโรคอิไต-อิไต เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า โอย-โอย โรคอิไต-อิไตมีถิ่นกำเนิดมาจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] เช่นเดียวกับ[[โรคมินามาตะ]] และ[[โรคคาวาซากิ]]


ผู้ที่มีโอกาสจะ ได้รับพิษ[[แคดเมียม]]คือ คนงานในอุตสาหกรรมชุบหรือเชื่อมโลหะ คนงานเคาะพ่นสี[[รถยนต์]]และ[[มอเตอร์ไซด์]] ที่มีการใช้ความร้อน
ผู้ที่มีโอกาสจะ ได้รับพิษ[[แคดเมียม]]คือ คนงานในอุตสาหกรรมชุบหรือเชื่อมโลหะ คนงานเคาะพ่นสี[[รถยนต์]]และ[[มอเตอร์ไซด์]] ที่มีการใช้ความร้อน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:37, 24 มิถุนายน 2554

โรคอิไต-อิไต (ญี่ปุ่น: イタイイタイ病โรมาจิitaiitaibiyouทับศัพท์: อิทะอิอิทะอิบิโยะอุ) ; อังกฤษ: Itai-itai disease) เป็นโรคชนิดหนึ่งเกิดจากแคดเมียม ชื่อโรคอิไต-อิไต เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า โอย-โอย โรคอิไต-อิไตมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น เช่นเดียวกับโรคมินามาตะ และโรคคาวาซากิ

ผู้ที่มีโอกาสจะ ได้รับพิษแคดเมียมคือ คนงานในอุตสาหกรรมชุบหรือเชื่อมโลหะ คนงานเคาะพ่นสีรถยนต์และมอเตอร์ไซด์ ที่มีการใช้ความร้อน หรือเปลวไฟในการอ๊อกเหล็กที่มีแคดเมียมผสมหรือเคลือบอยู่ การสูดไอของโลหะแคดเมียมเข้าไประยะยาว แคดเมียมจะไปสะสมที่กระดูก ทำให้กระดูก ผุมีอาการเจ็บปวดมาก เคยมีชื่อเรียกโรคพิษของแคดเมียมเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า “ อิไต-อิไต “ ซึ่งแปลว่า “ โอ๊ย โอ๊ย “ เมื่อได้รับแคดเมียมสะสมมากๆ จะสังเกต เห็นวงสีเหลืองที่โคนของซี่ฟัน ซึ่งจะขยายขึ้นไปเรื่อยๆจนอาจเต็มซี่ ถ้าขนาดของวงยิ่งกว้างและสียิ่งเข้ม ก็แสดงว่ามีแคดเมียมสะสมมาก มีหลักฐานพิสูจน์ ได้ว่าแคดเมียมออกไซด์เป็นสารก่อมะเร็งที่ไตและต่อมลูกหมาก นอกจากนั้นยังทำอันตรายต่อไต ทำให้สูญเสียประสาทการดมกลิ่นและทำให้ เลือดจาง ถ้าได้รับปริมาณมากระยะสั้นๆ จะมีอาการจับไข้ หนาวๆ ร้อนๆ ปวดศีรษะ อาเจียน อาการนี้จะเป็นได้นานถึง 20 ชั่วโมงแล้วตามด้วยอาการเจ็บหน้า อก ไอรุนแรง น้ำลายฟูม ดังนั้น เมื่อใดมีไอของแคดเมียม เช่น จากการเชื่อมเหล็กชุบ ควรใช้หน้ากากป้องกันไอและฝุ่นของแคดเมียม หรือสารประกอบแคดเมียม ในขณะทำงาน

อ้างอิง

  • Almeida, P and Stearns, L (1998). "Political opportunities and local grassroots environmental movement: The case of Minamata". Social Problems 45 (1): 37–60. doi:10.1525/sp.1998.45.1.03x0156z.

แหล่งข้อมูลอื่น