ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ar, de, eo, es, fa, fr, id, it, ja, ko, nl, pt, ru, simple, tl, uk, vi, zh, zh-min-nan
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น''' {{ญี่ปุ่น|気象庁|Kishōchō}} หรือ '''JMA''' เป็นศูนย์บริการด้านสภาพอากาศของรัฐบาลญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมและรายงานข้อมูลสภาพอากาศและพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น เป็นส่วนกึ่งอิสระของกระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภค และขนส่ง นอกจากนี้ สำนักงานยังรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และเตือนภัย[[แผ่นดินไหว]] [[คลื่นสึนามิ]] และการปะทุของภูเขาไฟ<ref name=JMABrochure>{{cite web
'''สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น''' ({{ญี่ปุ่น|気象庁|Kishōchō}}) หรือ '''JMA''' เป็นศูนย์บริการด้านสภาพอากาศของรัฐบาลญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมและรายงานข้อมูลสภาพอากาศและพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น เป็นส่วนกึ่งอิสระของกระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภค และขนส่ง นอกจากนี้ สำนักงานยังรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และเตือนภัย[[แผ่นดินไหว]] [[คลื่นสึนามิ]] และการปะทุของภูเขาไฟ<ref name=JMABrochure>{{cite web
|url=http://www.jma.go.jp/jma/en/Activities/brochure200603.pdf
|url=http://www.jma.go.jp/jma/en/Activities/brochure200603.pdf
|title=Japan Meteorological Agency: The national meteorological service of Japan
|title=Japan Meteorological Agency: The national meteorological service of Japan

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:53, 24 มิถุนายน 2554

สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: 気象庁โรมาจิKishōchō) หรือ JMA เป็นศูนย์บริการด้านสภาพอากาศของรัฐบาลญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมและรายงานข้อมูลสภาพอากาศและพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น เป็นส่วนกึ่งอิสระของกระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภค และขนส่ง นอกจากนี้ สำนักงานยังรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และเตือนภัยแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ และการปะทุของภูเขาไฟ[1]

สำนักงานมีสำนักงานใหญ่อยู่ในเขตปกครองพิเศษชิโยะดะ โตเกียว แบ่งการจัดการออกเป็น 6 สำนักงานบริหารภูมิภาค นอกจากนี้ JMA ยังได้ดำเนินการเป็นศูนย์กลางอุตุนิยมวิทยากำหนดขอบเขตส่วนภูมิภาคแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่

JMA มีจุดตรวจวัด 627 จุดทั่วประเทศ ทำหน้าที่ตรวจวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว[2]

อ้างอิง

  1. "Japan Meteorological Agency: The national meteorological service of Japan" (PDF). Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ 2009-05-03.
  2. http://www.breitbart.com/article.php?id=D9A79CVG0&show_article=1

แหล่งข้อมูลอื่น