ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทียมบุญ อินทรบุตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เทียมบุญ อินทรบุตร''' อดีตโปรโมเตอร์มวยชื่อดัง ผู้ถือได้ว่าเป็นผู้มีความสำคัญในแวดวงมวยทั้ง[[มวยไทย]]และ[[มวยสากล]]ใน[[ประเทศไทย]] และถือเป็นแบบอย่างให้แก่โปรโมเตอร์ในปัจจุบันด้วย
'''เทียมบุญ อินทรบุตร''' อดีตโปรโมเตอร์มวยชื่อดัง ผู้ถือได้ว่าเป็นผู้มีความสำคัญในแวดวงมวยทั้ง[[มวยไทย]]และ[[มวยสากล]]ใน[[ประเทศไทย]] และถือเป็นแบบอย่างให้แก่โปรโมเตอร์ในปัจจุบันด้วย


เทียมบุญเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2469]] ที่[[จังหวัดลำปาง]] ในครอบครัวที่มีฐานะ ในวัยเด็กและวัยรุ่นเคยใช้ชีวิตมาอย่างโชกโชน
เทียมบุญเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2469]] ที่[[จังหวัดลำปาง]] ในครอบครัวที่มีฐานะ ในวัยเด็กและ[[วัยรุ่น]]เคยใช้ชีวิตมาอย่างโชกโชน


เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นโปรโมเตอร์จัดการชกของนักมวยสากลระดับแชมป์โลกชาวไทยคน อาทิ [[โผน กิ่งเพชร]] ที่ชิงแชมป์โลกรุ่น[[ฟลายเวท]]คืนจาก [[ฮิโรยูกิ เอบิฮาร่า]] นักมวย[[ชาวญี่ปุ่น]] ซึ่งในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์การชกมวยสากลชิงแชมป์โลกในประเทศไทย และการจัด "[[ศึกสายเลือด]]" การชิงแชมป์โลกระหว่างนักมวยไทยด้วยกันเองเป็นครั้งแรก คือ [[ชาติชาย เชี่ยวน้อย]] กับ [[พันธุ์ทิพย์ แก้วสุริยะ]] และที่เป็นที่จดจำได้ดีที่สุด คือ การที่เป็นผู้วางแผนให้ [[แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์]] ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งเท่านั้นแล้วได้เป็นแชมป์โลก อย่างที่เรียกกันว่า "บันได 3 ขั้น"
เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นโปรโมเตอร์จัดการชกของนักมวยสากลระดับแชมป์โลกชาวไทยคน อาทิ [[โผน กิ่งเพชร]] ที่ชิงแชมป์โลกรุ่น[[ฟลายเวท]]คืนจาก [[ฮิโรยูกิ เอบิฮาร่า]] นักมวย[[ชาวญี่ปุ่น]] ซึ่งในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดทาง[[โทรทัศน์]]การชกมวยสากลชิงแชมป์โลกในประเทศไทย และการจัด "[[ศึกสายเลือด]]" การชิงแชมป์โลกระหว่างนักมวยไทยด้วยกันเองเป็นครั้งแรก คือ [[ชาติชาย เชี่ยวน้อย]] กับ [[พันธุ์ทิพย์ แก้วสุริยะ]] และที่เป็นที่จดจำได้ดีที่สุด คือ การที่เป็นผู้วางแผนให้ [[แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์]] ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งเท่านั้นแล้วได้เป็นแชมป์โลก อย่างที่เรียกกันว่า "บันได 3 ขั้น"


นอกจากนี้แล้ว เทียมบุญถือว่าเป็นผู้สร้างจุดขายและประชาสัมพันธ์การชกมวยในรูปแบบใหม่ เช่น การแต่งเพลง[[มาร์ช]]เชียร์มวย หรือ การจัดมวยตามเสด็จพระราชกุศล เป็นต้น
นอกจากนี้แล้ว เทียมบุญถือว่าเป็นผู้สร้างจุดขายและประชาสัมพันธ์การชกมวยในรูปแบบใหม่ เช่น การแต่งเพลง[[มาร์ช]]เชียร์มวย หรือ การจัดมวยตามเสด็จพระราชกุศล เป็นต้น


เทียมบุญได้รับฉายาจากสื่อมวลชนในแวดวงมวยว่า "พญาอินทรี" หรือ "หัวแตงโม" เนื่องจากมีลักษณะศีรษะโต และไว้ผมทรงสั้นเกรียน
เทียมบุญได้รับฉายาจากสื่อมวลชนในแวดวงมวยว่า "พญาอินทรี" หรือ "หัวแตงโม" เนื่องจากมีลักษณะ[[ศีรษะ]]ที่ใหญ่โต และไว้ผมทรงสั้นเกรียน


เทียมบุญยุติบทบาทตัวเองจากวงการมวยในปี [[พ.ศ. 2526]] ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสำนักงานทนายความและการบัญชี ย่าน[[ถนนวิสุทธิกษัตริย์]] แต่สุขภาพทรุดโทรมจากทั้ง[[โรคหัวใจ]] และ[[ถุงลมโป่งพอง]] อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่จัด ถึงขนาดต้องพกถังออกซิเจนไว้ข้างตัวตลอดเวลา{{อ้างอิง}} เข้ารับการรักษาจากโรงพยาบาลหลายครั้ง
เทียมบุญยุติบทบาทตัวเองจากวงการมวยในปี [[พ.ศ. 2526]] ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสำนักงานทนายความและการบัญชี ย่าน[[ถนนวิสุทธิกษัตริย์]] แต่สุขภาพทรุดโทรมจากทั้ง[[โรคหัวใจ]] และ[[ถุงลมโป่งพอง]] อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่จัด ถึงขนาดต้องพกถัง[[ออกซิเจน]]ไว้ข้างตัวตลอดเวลา เข้ารับการรักษาจาก[[โรงพยาบาล]]หลายครั้ง


ต่อมาเกิดอุบัติเหตุลื่นหกล้มในห้องน้ำที่บ้านพักตัวเอง จนกระดูกสะโพกหัก 3 ท่อน ต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลนานนับเดือน เมื่อกลับมาพักฟื้นที่บ้านได้ไม่นานนัก เทียมบุญตัดสินใจกระทำ[[ฆ่าตัวตาย|อัตวินิบาตกรรม]]ด้วยการยิงกระสุนขนาด จุด 38 ใส่ศีรษะตนเอง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 253] ขณะมีอายุได้ 65 ปี งานศพของเทียมบุญได้รับพระราชทานเพลิงเป็นกรณีพิเศษที่[[วัดมักกะสัน]]<ref>"หัวแตงโม" เทียมบุญ อินทรบุตร คอลัมน์ ฉายาชาวยุทธ์ โดย สว่าง สวางควัฒน์ [[หนังสือพิมพ์]][[ข่าวสด]] วันที่ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2552]] ปีที่ 18 ฉบับที่ 6633 หน้าที่ 13</ref>
ต่อมาเกิด[[อุบัติเหตุ]]ลื่นหกล้มในห้องน้ำที่บ้านพักตัวเอง จนกระดูกสะโพกหัก 3 ท่อน ต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลนานนับเดือน เมื่อกลับมาพักฟื้นที่บ้านได้ไม่นานนัก เทียมบุญตัดสินใจกระทำ[[ฆ่าตัวตาย|อัตวินิบาตกรรม]]ด้วยการยิงกระสุนขนาด จุด 38 ใส่ศีรษะตนเอง เมื่อวันที่ [[31 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2533]] ขณะมีอายุได้ 65 ปี [[งานศพ]]ของเทียมบุญได้รับพระราชทานเพลิงเป็นกรณีพิเศษที่[[วัดมักกะสัน]]<ref>"หัวแตงโม" เทียมบุญ อินทรบุตร คอลัมน์ ฉายาชาวยุทธ์ โดย สว่าง สวางควัฒน์ [[หนังสือพิมพ์]][[ข่าวสด]] วันที่ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2552]] ปีที่ 18 ฉบับที่ 6633 หน้าที่ 13</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:05, 27 พฤษภาคม 2554

เทียมบุญ อินทรบุตร อดีตโปรโมเตอร์มวยชื่อดัง ผู้ถือได้ว่าเป็นผู้มีความสำคัญในแวดวงมวยทั้งมวยไทยและมวยสากลในประเทศไทย และถือเป็นแบบอย่างให้แก่โปรโมเตอร์ในปัจจุบันด้วย

เทียมบุญเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2469 ที่จังหวัดลำปาง ในครอบครัวที่มีฐานะ ในวัยเด็กและวัยรุ่นเคยใช้ชีวิตมาอย่างโชกโชน

เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นโปรโมเตอร์จัดการชกของนักมวยสากลระดับแชมป์โลกชาวไทยคน อาทิ โผน กิ่งเพชร ที่ชิงแชมป์โลกรุ่นฟลายเวทคืนจาก ฮิโรยูกิ เอบิฮาร่า นักมวยชาวญี่ปุ่น ซึ่งในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์การชกมวยสากลชิงแชมป์โลกในประเทศไทย และการจัด "ศึกสายเลือด" การชิงแชมป์โลกระหว่างนักมวยไทยด้วยกันเองเป็นครั้งแรก คือ ชาติชาย เชี่ยวน้อย กับ พันธุ์ทิพย์ แก้วสุริยะ และที่เป็นที่จดจำได้ดีที่สุด คือ การที่เป็นผู้วางแผนให้ แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งเท่านั้นแล้วได้เป็นแชมป์โลก อย่างที่เรียกกันว่า "บันได 3 ขั้น"

นอกจากนี้แล้ว เทียมบุญถือว่าเป็นผู้สร้างจุดขายและประชาสัมพันธ์การชกมวยในรูปแบบใหม่ เช่น การแต่งเพลงมาร์ชเชียร์มวย หรือ การจัดมวยตามเสด็จพระราชกุศล เป็นต้น

เทียมบุญได้รับฉายาจากสื่อมวลชนในแวดวงมวยว่า "พญาอินทรี" หรือ "หัวแตงโม" เนื่องจากมีลักษณะศีรษะที่ใหญ่โต และไว้ผมทรงสั้นเกรียน

เทียมบุญยุติบทบาทตัวเองจากวงการมวยในปี พ.ศ. 2526 ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสำนักงานทนายความและการบัญชี ย่านถนนวิสุทธิกษัตริย์ แต่สุขภาพทรุดโทรมจากทั้งโรคหัวใจ และถุงลมโป่งพอง อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่จัด ถึงขนาดต้องพกถังออกซิเจนไว้ข้างตัวตลอดเวลา เข้ารับการรักษาจากโรงพยาบาลหลายครั้ง

ต่อมาเกิดอุบัติเหตุลื่นหกล้มในห้องน้ำที่บ้านพักตัวเอง จนกระดูกสะโพกหัก 3 ท่อน ต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลนานนับเดือน เมื่อกลับมาพักฟื้นที่บ้านได้ไม่นานนัก เทียมบุญตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมด้วยการยิงกระสุนขนาด จุด 38 ใส่ศีรษะตนเอง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ขณะมีอายุได้ 65 ปี งานศพของเทียมบุญได้รับพระราชทานเพลิงเป็นกรณีพิเศษที่วัดมักกะสัน[1]

อ้างอิง

  1. "หัวแตงโม" เทียมบุญ อินทรบุตร คอลัมน์ ฉายาชาวยุทธ์ โดย สว่าง สวางควัฒน์ หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 18 ฉบับที่ 6633 หน้าที่ 13