ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเหยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Kù บังเอิญว่าตรงกับภาษาไทย คู่ หากจะเขียน ขู้ ก็ไม่เหมาะ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พระเจ้าเหยา''' ({{zh-all|t=堯|s=尧|p=Yáo|w=Yao}}), (ตามตำนาน ปีที่ 2356-2255 ก่อนคริสตกาล)<ref>{{cite book|last=Ching|first=Julia|title=Sages and filial sons: mythology and archaeology in ancient China|year=1991|publisher=The Chinese University Press|isbn=978-9622014695|url=http://books.google.co.uk/books?id=ynfrlFZcUG8C&pg=PA141&dq=%22emperor+yao%22&hl=en&ei=sgPVTJ-PFsfMhAfbuoSkBQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CC0Q6AEwAQ#v=onepage&q=%22emperor%20yao%22&f=false|coauthors=R. W. L. Guisso|page=140}}</ref> คือผู้ปกครองประเทศจีนตามตำนาน ในยุค[[ยุคผู้ปกครองทั้งห้า|ยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ]] ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นบุตรคนที่สองของ[[จักรพรรดิคู่]]
'''พระเจ้าเหยา''' ({{zh-all|t=堯|s=尧|p=Yáo|w=Yao}}), (ตามตำนาน ปีที่ 2356-2255 ก่อนคริสตกาล)<ref>{{cite book|last=Ching|first=Julia|title=Sages and filial sons: mythology and archaeology in ancient China|year=1991|publisher=The Chinese University Press|isbn=978-9622014695|url=http://books.google.co.uk/books?id=ynfrlFZcUG8C&pg=PA141&dq=%22emperor+yao%22&hl=en&ei=sgPVTJ-PFsfMhAfbuoSkBQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CC0Q6AEwAQ#v=onepage&q=%22emperor%20yao%22&f=false|coauthors=R. W. L. Guisso|page=140}}</ref> คือผู้ปกครองประเทศจีนตามตำนาน ในยุค[[ยุคผู้ปกครองทั้งห้า|ยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ]] ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นบุตรคนที่สองของ[[จักรพรรดิคู่]]


พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นกษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่างๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา [[พระเจ้าซุ่น]] และ[[พระเจ้าอี่]] ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา
พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นกษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่างๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา [[พระเจ้าซุ่น]] และ[[พระเจ้าอวี่]] ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา


ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และเสียชีวิตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับ[[พระเจ้าซุ่น|ซุ่น]] ซึ่งแต่งงานกับบุตรสาวของเขาทั้ง 2 คน
ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และเสียชีวิตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับ[[พระเจ้าซุ่น|ซุ่น]] ซึ่งแต่งงานกับบุตรสาวของเขาทั้ง 2 คน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:31, 18 พฤษภาคม 2554

พระเจ้าเหยา (จีนตัวย่อ: ; จีนตัวเต็ม: ; พินอิน: Yáo; เวด-ไจลส์: Yao), (ตามตำนาน ปีที่ 2356-2255 ก่อนคริสตกาล)[1] คือผู้ปกครองประเทศจีนตามตำนาน ในยุคยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นบุตรคนที่สองของจักรพรรดิคู่

พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นกษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่างๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา พระเจ้าซุ่น และพระเจ้าอวี่ ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา

ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และเสียชีวิตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับซุ่น ซึ่งแต่งงานกับบุตรสาวของเขาทั้ง 2 คน

อ้างอิง

  1. Ching, Julia (1991). Sages and filial sons: mythology and archaeology in ancient China. The Chinese University Press. p. 140. ISBN 978-9622014695. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)